โพสต์โดย รัตนศิริ กิตติก้องนภางค์
-
แม่แจ่ม ข้าวโพด หมอกควัน และบริษัทอาหารสัตว์รายใหญ่
ในวันที่ภาคเหนือตอนบนถูกปกคลุมไปด้วยฝุ่นควัน กรีนพีซได้ไปพูดคุยกับหนึ่งในคณะกรรมการแก้ไขปัญหาหมอกควันเชียงใหม่ ผู้ประสานงานแม่แจ่มโมเดลพลัส และผู้อำนวยการสถาบันอ้อผญา (องค์กรสถานประโยชน์) คุณสมเกียรติ มีธรรม ที่อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ถึงปัญหาหมอกควันข้ามพรมแดน การชิงเผา และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
-
IPCC: ระบบอาหารเน้นพืชผักและปกป้องผืนป่า คือทางออกของวิกฤตโลกร้อน “Now or Never”
คำเตือนก่อนสายเกินแก้ของรายงาน IPCC ฉบับที่สาม ระบุว่า ยุทธศาสตร์ในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอย่างเร่งด่วน คือการยุติพลังงานฟอสซิล และที่สำคัญตามมาคือ เปลี่ยนระบบอาหารเนื้อสัตว์และนมที่มีส่วนในการปล่อยก๊าซเรือนกระจกถึงหนึ่งในสาม
-
สงครามและความเปราะบางของระบบอาหารเชิงอุตสาหกรรม
สงครามรัสเซีย-ยูเครนนอกจากจะสร้างแต่ความสูญเสียมหาศาลต่อชาวยูเครนแล้ว ยังส่งผลกระทบในวงกว้างต่อระบบอาหารของโลกที่พึ่งพาการผลิตเชิงอุตสาหกรรมและพึ่งพาเชื้อเพลิงฟอสซิล นานาประเทศกำลังกังวลถึงภาวะขาดแคลนอาหารที่อาจเกิดขึ้น หากรัสเซียไม่หยุดยั้งสงครามในเดือนเมษายน
-
เนื้อเทียม ≠ ดีต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพเสมอไป
แน่นอนว่าการผลิตและบริโภคเนื้อสัตว์ในระบบอาหารแบบอุตสาหกรรมนั้นส่งผลเสียต่อระบบนิเวศ คุณภาพชีวิตของสัตว์ รวมถึงผู้บริโภคและเกษตรกรอย่างใหญ่หลวง แล้วเนื้อสัตว์ทางเลือกอย่างเนื้อสัตว์จากพืช หรือ “เนื้อเทียม” ล่ะ ในแง่ของสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างไร
-
COP26 ควรจะให้ความสำคัญกับการลดการลงทุนอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์
แม้ว่า COP26 ที่กลาสโกว์ จะไม่ได้กำหนดให้อุตสาหกรรมเนื้อสัตว์เป็นหนึ่งใน 4 เป้าหมายที่ต้องการให้เกิดเป็นรูปธรรม แต่การที่อุตสาหกรรมเนื้อสัตว์มีส่วนในการปล่อยก๊าซเรือนกระจกมากถึงร้อยละ 19 ของการปล่อยเรือนกระจกทั้งหมดทั่วโลกตามข้อมูลล่าสุดของรายงาน IPCC เราจะมาสำรวจประเด็นดังกล่าวนี้กัน
-
เมล็ดพันธุ์ การล่าอาณานิคมยุคศตวรรษที่ 21 ผ่านทางความตกลงการค้าของบรรษัทเกษตร
ประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อประเทศที่กำลังพัฒนาที่มีอำนาจในการต่อรองทางเศรษฐกิจด้อยกว่า หรือมีรัฐบาลที่แข็งกร้าวต่อประชาชนแต่อ่อนข้อให้กับประเทศมหาอำนาจ การจดสิทธิบัตรเมล็ดพันธุ์ภายในข้อตกลงทางการค้าระหว่างประเทศจึงถูกมองโดยนักคิดนักเคลื่อนไหวว่าเป็นเสมือนล่าอาณานิคมในยุคศตวรรษที่ 21
-
ไม่ควรจะมีใครถูกบังคับให้สูญหายจากการเรียกร้องสิทธิทางสิ่งแวดล้อม
กี่ชีวิตมาแล้วที่ต้องร่วงหล่นสูญหายจากการปกป้องชุมชนและสิ่งแวดล้อม
-
อุรังอุตัง vs น้ำมันปาล์ม การตัดสินใจของผู้บริโภคที่มีการสูญพันธุ์เป็นเดิมพัน
“Person of the Forest” หรือคนแห่งป่า คือความหมายของชื่ออุรังอุตัง ลิงขนาดใหญ่ขนแดงผู้มีลักษณะและความฉลาดใกล้เคียงกับมนุษย์ อาศัยอยู่ที่เฉพาะป่าฝนเขตร้อนบนเกาะสุมาตราและเกาะบอร์เนียวของอินโดนีเซีย แม้จะฟังดูไกลจากพวกเรา แต่คนแห่งป่ากลุ่มนี้มีความเชื่อมโยงใกล้กับเรามากกว่าที่คิด และในฐานะผู้บริโภค เราอาจมีส่วนในการทำลายบ้านของอุรังอุตังโดยไม่รู้ตัว
-
เชื้อดื้อยา การปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อม และอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์
แม้ว่าโรงพยาบาลและอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์จะมีบทบาทหน้าที่แตกต่างกันในความสำคัญต่อชีวิตของมนุษย์ แต่มีสิ่งหนึ่งที่เชื่อมโยงเหมือนกัน คือ การใช้ยาปฏิชีวนะ สิ่งที่น่ากังวลคือปริมาณในการใช้ยาปฏิชีวนะในฟาร์มอุตสาหกรรมซึ่งเกิดมาจากการใช้อย่างไม่ถูกวิธีและเกินความจำเป็น
-
โพลาร์ วอร์เท็กซ์: ยามเมื่อเครื่องปรับอากาศโลกเริ่มรวน
กรุงเทพฯหนาว เวียดนามหิมะตก จีนหนาวสุดขั้ว สภาพภูมิอากาศเหล่านี้มิได้หมายความว่าโลกของเราหลุดพ้นจากวิกฤตโลกร้อนแล้ว แต่นี่คือหนึ่งในปรากฎการณ์สภาพภูมิอากาศแปรปรวนที่เกี่ยวข้องโดยตรงและเป็นผลกระทบที่เกิดการที่อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกที่สูงขึ้น