โพสต์โดย รัตนศิริ กิตติก้องนภางค์
-
คนชายขอบอยู่ตรงไหนในกระบวนการ EIA เมื่อเหมืองถ่านหินจะมาถึงบ้าน
คุณรู้ไหมว่า “แมแห้แบถ่านหิน” แปลว่าอะไร หากคุณไม่เข้าใจก็ไม่แปลกอะไรเพราะนี่เป็นภาษาโพล่ง และไม่แปลกอะไรเช่นกันที่ชาวกะเหรี่ยงโปว์จะไม่เข้าใจภาษากลางของไทยทั้งพูดและเขียน
-
จุลชีพ ยาปฏิชีวนะ และจักรวาลในผืนดิน
แต่ละธุลีดินแม้จะดูเป็นเศษผงที่ไร้คุณค่า แต่แท้ที่จริงผืนดินคือจักรวาลของสิ่งมีชีวิตมหาศาลที่เรามองไม่เห็นเรียกว่า จุลชีพ เป็นรากฐานของชีวิตและความสมบูรณ์ของโลก
-
ปุ๊ก-ผณิตา คงสุข: “เราใช้ทรัพยากรทุกวัน เราควรให้อะไรกลับไปได้บ้าง”
“ถ้าเรายังอาบน้ำ แปรงฟันฟอกสบู่ ปัญหาสิ่งแวดล้อมไม่ใช่เรื่องไกลตัวเลยเหมือนเมื่อก่อนที่เราพูดเรื่องโลกร้อนก็ไม่มีใครรู้จัก เว่อร์ คิดไปทำไม จนทุกวันนี้ทุกคนได้เห็นแล้ว แค่ 20 ปีเอง เพราะว่าเราได้ใช้สิ่งแวดล้อม เราจึงต้องชดเชยกลับไปบ้าง ด้วยวิถีทางของเรา”
-
จับตาร่างกฏหมายโลกร้อนของไทย เราสามารถเข้าถึงข้อมูลการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของบริษัทจริงหรือ?
การร่างกฏหมายโลกร้อนที่กำลังเปิดให้มีการรับฟังความคิดเห็นจนถึงต้นเดือนตุลาคม 2563 นี้ เป็นส่วนหนึ่งของแผนการปฏิรูปประเทศภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 กำหนดไว้ว่าภายในปี 2563 ประเทศไทยจะต้องมีร่างแรกของพระราชบัญญัติการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแห่งชาติ (ซึ่งในที่นี้จะเรียกสั้นๆ ว่า กฏหมายโลกร้อน) รวมถึงการมีอนุบัญญัติต่างๆ แต่เมื่อพิจารณารายละเอียดเนื้อหาและความเข้มข้นของการบังคับใช้นั้นจะเพียงพอที่จะแก้ปัญหาโลกร้อนได้หรือไม่ หรือยังสงวนท่าทีที่เกรงใจต่อภาคอุตสาหกรรมนั้นยังเป็นคำถามใหญ่
-
กระทรวงศึกษาฯ อย่าลืมปัญหาอาหารกลางวันโรงเรียน
อาหารที่ไม่ดีต่อสุขภาพของเรา มีเบื้องหลังที่ไม่ดีต่อสุขภาพของโลก และไม่เป็นธรรมต่อผู้ผลิตเช่นกัน อะไรคือปัญหาที่ซุกอยู่ใต้ถาดหลุม
-
เมื่อ CPTPP จะทำให้ความหมายของเมล็ดพันธุ์เปลี่ยนไป
ทำไมถึงต้องกังวล หากเมล็ดพันธุ์จะถูกจดสิทธิบัตรและถูกครอบครองโดยบริษัท?
-
โลกของโรค ตอนที่ 3 เมื่ออาหารคือทั้งปัญหาและทางออก
อยากจะขอปรับคำกล่าวที่ว่า “You are what you eat.” สักหน่อยเป็น “The world is what you eat.” เพราะสิ่งที่เราเลือกกินนั้นไม่ได้เพียงแค่ส่งผลกระทบต่อรอบเอวหรือสุขภาพของเรา แต่ยังส่งผลกระทบถึงสิ่งแวดล้อมของโลก สังคม เศรษฐกิจ รวมถึงวิถีชีวิตของคนที่เกี่ยวข้องในห่วงโซ่อุปทานการผลิตด้วย
-
โลกของโรค ตอนที่ 2 หมูเห็ดเป็ดไก่ การปฏิวัติอุตสาหกรรมเกษตร และโรคระบาด
อาจจะเป็นเรื่องเหลือเชื่อที่มนุษย์อย่างเรามีความสัมพันธ์อย่างตัดไม่ขาดกับธรรมชาติ และการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของมนุษย์นั้นส่งผลต่อสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะเรื่องอาหารการกิน
-
โลกของโรค ตอนที่ 1 โรคระบาดกับระบบนิเวศ
ข้อมูลมากมายจากนักวิจัยและนักวิทยาศาสตร์ระบุชัดว่า โรคระบาดครั้งใหญ่ในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมา ไม่ได้จู่ ๆ ก็เกิดขึ้นตามช่วงเวลา แต่เป็นผลจากการกระทำและกิจกรรมของมนุษย์ต่อระบบนิเวศของสิ่งแวดล้อม หากเราไม่เริ่มทำความเข้าใจระบบนิเวศ และหันมาดูแลสิ่งแวดล้อมมากขึ้นตั้งแต่วันนี้ อาจส่งผลให้เกิดโรคอุบัติซ้ำและอุบัติใหม่
-
ยึดครองเมล็ดพันธุ์ = ยึดกุมอาหาร บทเรียนก่อนถลำสู่ CPTPP
ทางแยกที่รัฐบาลจะต้องเลือกเดินหากเข้าร่วมความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก หรือ Comprehensive and Progressive Agreement of Trans-Pacific Partnership (CPTPP) ที่พ่วงมาพร้อมกับ อนุสัญญาระหว่างประเทศ เพื่อการคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่ หรือ UPOV 1991 คือ การตัดสินใจว่าจะให้น้ำหนักความสำคัญไปในทิศทางใด ระหว่างสิทธิในการเข้าถึงอาหารอย่างเป็นธรรมของประชาชน หรือผลประโยชน์คณานับของบรรษัทอาหารและเกษตรที่ครอบครองตลาดเพียงไม่กี่ราย