All articles by Songwut Jullanan
-
สรุปเสวนาถอดบทเรียนยกร่างสนธิสัญญาทะเลหลวง
สัมมนาทางวิชาการ “เรื่อง UN Ocean Treaty : ถอดบทเรียนกระบวนการยกร่างสนธิสัญญาพหุภาค” ที่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้มีการพูดคุยสรุปประเด็นสนธิสัญญาฉบับนี้ในแง่กฎหมาย ถอดบทเรียนการได้มาซึ่งสนธิสัญญา พร้อมถกความท้าทายที่จะเกิดขึ้นหลังการลงนามสนธิสัญญาอย่างเป็นทางการ บล็อกนี้เราสรุป 3 ข้อที่น่าสนใจจากการเสวนาครั้งนี้
-
สนธิสัญญาทะเลหลวง : ร่างผ่าน สมาชิกยูเอ็นรับ สถานีต่อไป… รัฐบาล
หลังใช้เวลาพูดคุย ต่อสู้ และต่อรองกันมาหลายสิบปี ล่าสุดเมื่อวันที่ 19 มิถุนายนที่ผ่านมา รัฐบาลที่เข้าร่วมประชุมองค์การสหประชาชาติได้ลงรับสนธิสัญญาทะเลหลวงอย่างเป็นทางการ… สักที
-
สนธิสัญญาทะเลหลวงผ่านแล้ว! ก้าวประวัติศาสตร์ปกป้องมหาสมุทรโลก
ตลอด 20 ปีที่ผ่านมา ความทุ่มเทของนักวิทยาศาสตร์ นักอนุรักษ์ นักกิจกรรม และผู้คนทั่วโลกพยายามผลักดันให้เกิดสนธิสัญญาดังกล่าว บล็อกนี้เราจึงจะพาย้อนดูที่มาของการเจรจาสนธิสัญญา ช่วงเวลาประวัติศาสตร์ และอนาคตของมหาสมุทรโลกหลังได้สนธิสัญญา
-
ทำไมคนจะนะออกมาค้านคำสั่งย้าย “หมอสุภัทร”
ชาวจะนะกว่าห้าสิบชีวิตเดินทางกว่าสิบห้าชั่วโมงมาที่กระทรวงสาธารณสุข จังหวัดนนทบุรี เรียกร้องให้กระทรวงทบทวนคำสั่งย้าย นพ.สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ หรือ “หมอสุภัทร"
-
Coca-Cola’s Plastic Promises : “โค้ก” ขวดแก้วที่หายไป
Coca-Cola’s Plastic Promises คือสารคดีที่ว่าด้วยปัญหามลพิษพลาสติก โดยเจาะลึกบทบาทของผู้ผลิต และตั้งคำถามถึงแคมเปญ “โลกไร้ขยะ” ของบริษัทโคคา-โคล่า หรือที่เราเรียกกันติดปากว่า “โค้ก”
-
ประชุม IGC5 : ความหวังสุดท้ายของทะเลหลวง
มหาสมุทรทั่วโลกกำลังเผชิญสารพัดภัยคุกคาม ขณะที่พื้นที่เพียง 1% ของทะเลหลวงเท่านั้นที่ได้รับการปกป้อง
-
จากอ่าวไทยถึงรัฐสภา : บันทึกเดินเรือทวงคืนน้ำพริกปลาทู
ปลาทูเป็นหนึ่งในวัตถุดิบสำคัญที่อยู่คู่ครัวไทยมานาน เพราะราคาถูก รสชาติอร่อย และเต็มไปด้วยสารอาหาร มันจึงช่วยเลี้ยงปากเลี้ยงท้องคนไทยมานานหลายชั่วอายุคน แต่ปลาทูไทยวันนี้ไม่ได้มีราคาถูกและหาง่ายเหมือนดังแต่ก่อน ที่วางขายในตลาดหรือห้างร้านนับวันยิ่งตัวเล็กลง และส่วนมากนำเข้าจากต่างประเทศ เมื่อเทียบปี 2557 และ 2562 ผลผลิตปลาทูไทยลดลงเกือบ 6 เท่า[1] และมีแนวโน้มลดลงเรื่อย ๆ ที่เป็นเช่นนี้ เพราะเราปล่อยให้มีการทำประมงเกินขนาดและจับสัตว์น้ำวัยอ่อนโดยไร้การควบคุม หลายปีที่ผ่านมา ชาวประมงพื้นบ้านจึงรวมตัวกันรณรงค์ให้หยุดซื้อ-จับ-ขาย สัตว์น้ำวัยอ่อน พวกเขาร่วมกันทำบ้านปลา ซึ่งเป็นแหล่งอนุบาลสัตว์น้ำวัยอ่อน สร้างข้อตกลงในชุมชนไม่จับสัตว์น้ำบริเวณดังกล่าว สื่อสารวิกฤตครั้งนี้กับสังคม หรือแม้กระทั่งเดินทางมายื่นหนังสือต่อห้างร้านในกรุงเทพฯ เพื่อขอความร่วมมือให้หยุดรับซื้อสัตว์น้ำวัยอ่อน “ปัจจุบันมีการจับสัตว์น้ำวัยอ่อนมากขึ้น ทำให้ประมงพื้นบ้านที่เป็นประมงขนาดเล็ก ที่จับปลาตัวใหญ่ได้ผลกระทบโดยตรง รวมถึงผู้บริโภคที่ต้องซื้ออาหารทะเลในราคาที่แพงขึ้น การรณรงค์ในเรื่องของการห้ามซื้อห้ามขายสัตว์น้ำวัยอ่อนทั่วกรุงเทพฯ เป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับความมั่นคงทางอาหารในอนาคต” ปิยะ เทศแย้ม นายกสมาคมประมงพื้นบ้านทุ่งน้อย จ.ประจวบคีรีขันธ์ เล่าให้เราฟังขณะรอยื่นหนังสือต่อห้างสรรพสินค้าให้หยุดรับซื้อสัตว์น้ำวัยอ่อน ความพยายามเหล่านี้ช่วยสร้างความตระหนักในกลุ่มผู้บริโภคและชาวประมงในระดับหนึ่ง ทั้งนี้ ปิยะมองว่า มาตรการควบคุมจากภาครัฐเป็นอีกปัจจัยสำคัญในการสร้างความเปลี่ยนแปลง แต่ตลอดเวลาที่ชาวประมงร่วมกันรณรงค์ ภาครัฐกลับไม่มีส่วนร่วมในการผลักดันและควบคุมการจับสัตว์น้ำวัยอ่อน แม้จะมี “กุญแจ” สำคัญอยู่ในมือ กุญแจสำคัญที่ว่า คือพระราชกําหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ มาตราที่ 57 ซึ่งระบุว่า…
-
“ปลาเงี่ยน” ซาซิมิไทยที่เกือบหายไปเพราะปลาหมดทะเล
การนำปลาแร่สดมาทานคู่กับเครื่องเคียง คือเมนูอาหารญี่ปุ่นยอดนิยมในไทยที่เรียกกันติดปากว่า “ซาซิมิ” แต่รู้หรือไม่ว่ามีปลาทะเลไทยที่ถูกนำมาทำ “ซาซิมิ” เช่นกัน โดยเมนูนี้ทางภาคใต้เรียกว่า ปลาเงี่ยน ปลาเงี้ยน ปลาจิ้ม หรือแล้วแต่บางพื้นที่จะเรียก
-
คุยกับวิโชคศักดิ์ รณรงค์ไพรี ถึงรูรั่วทะเลไทย หลังปฏิวัติประมงครั้งใหญ่ปี ‘58
การประมงของไทยในช่วงสิบปีหลังเป็นอย่างไร สถานการณ์ปลาทะเลอยู่ในขั้นวิกฤตจริงหรือไม่ วันนี้เราจับเข่าคุยกับ “แทป” วิโชคศักดิ์ รณรงค์ไพรี นายกสมาคมรักษ์ทะเลไทย
-
สองปีแห่งการต่อสู้ ของไครียะห์ ระหมันยะ
ฟังบทสนทนาของ “ยะห์” ไครียะ ระหมันยะ อีกครั้งหลัง 2 ปีที่เธอต่อสู้เพื่อสิ่งแวดล้อมและวิถีชีวิตที่เธอและชุมชนหวงแหน