All articles
-
แถลงการณ์กรีนพีซ : ครบรอบ 14 ปี อุบัติภัยนิวเคลียร์ฟุกุชิมะ
ครบรอบ 14 ปี หลังเหตุการณ์แผ่นดินไหวครั้งใหญ่ทางตะวันออกของญี่ปุ่นซึ่งทำให้เกิดเหตุการณ์อุบัติภัยโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะ ไดอิจิ ตามมา กรีนพีซ ญี่ปุ่น ขอแสดงความเสียใจอย่างสุดซึ้งต่อผู้ประสบภัยและครอบครัวที่ยังคงต้องทนทุกข์หลังเหตุการณ์ภัยพิบัติครั้งใหญ่นี้
-
ไทยติดอันดับ 6 ประเทศที่มีคุณภาพอากาศแย่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตามรายงาน IQAir ปี 2567
ตามรายงานคุณภาพอากาศโลกประจำปี 2567 โดย IQAir ประเทศไทยถูกจัดให้อยู่ในอันดับที่ 6 จาก 9 ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีคุณภาพอากาศแย่ที่สุด
-
การขุดเจาะก๊าซฟอสซิลเร่งเร้าวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
กระบวนการผลิตจนถึงการบริโภคก๊าซฟอสซิลที่ถูกตั้งชื่อให้ดูเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมว่า “ก๊าซธรรมชาติ” กลับส่งผลกระทบที่ไม่เป็นธรรมต่อชุมชนผู้มีรายได้น้อย กลุ่มชนเผ่าพื้นเมืองชาติพันธุ์ ทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับโลก
-
“มองทุกอย่างให้เป็นโอกาส” รู้จัก อัญชลี พิพัฒนวัฒนากุล ผู้นำทีมรณรงค์คนใหม่ของ กรีนพีซ ประเทศไทย
‘จิ๊บ’ อัญชลี พิพัฒนวัฒนากุล ปัจจุบันเธอเป็นผู้จัดการงานรณรงค์ของกรีนพีซ ประเทศไทย ร่วมกำหนดยุทธศาสตร์การปกป้องสภาพภูมิอากาศและความหลากหลายทางชีวภาพและสิทธิในการอยู่อาศัยในสิ่งแวดล้อมที่ดีของคนไทย
-
“Land bridge Effect ผลกระทบโครงการท่าเรือน้ำลึกแลนด์บริดจ์ชุมพร ระนอง” เปิดข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพและภัยคุกคามต่อชุมชนชายฝั่ง
ชุดข้อมูลนี้เป็นชุดข้อมูลที่นักวิชาการร่วมทำงานเก็บข้อมูลกับชุมชนเพื่อแสดงให้เห็นถึงข้อห่วงกังวลต่อผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมและวิถีชีวิตของชุมชนที่อาจเกิดขึ้นหากเกิดโครงการท่าเรือน้ำลึก Land Bridgeใน จ.ชุมพรและ จ.ระนอง
-
ธารา บัวคำศรีอำลากรีนพีซ ประเทศไทย ทีมผู้นำรุ่นใหม่เดินหน้างานรณรงค์ด้านสิ่งแวดล้อม
ธารา บัวคำศรี ก้าวลงจากตำแหน่งผู้อำนวยการ กรีนพีซ ประเทศไทย หลังจากร่วมก่อตั้งองค์กรและทำงานรณรงค์ด้านสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่องตลอดระยะเวลา 25 ปี พร้อมส่งมอบภารกิจให้ผู้นำรุ่นใหม่สร้างการเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อม ความเป็นธรรมทางสภาพภูมิอากาศและสิทธิในสิ่งแวดล้อมที่ดี ธารายืนยันสนับสนุนการรณรงค์ของกรีนพีซ ประเทศไทยในฐานะนักกิจกรรมต่อไป
-
โรงไฟฟ้าก๊าซฟอสซิล แหล่งกำเนิดมลพิษ PM 2.5 ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่ถูกมองข้าม
ทุกๆ ปี พื้นที่กรุงเทพมหานครกำลังเผชิญกับวิกฤตมลพิษทางอากาศอย่างรุนแรง โดยเฉพาะมลพิษ PM 2.5 ซึ่งก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อสุขภาพของประชาชน งานวิจัยล่าสุดชี้ให้เห็นถึงถึงบทบาทสำคัญของโรงไฟฟ้าก๊าซฟอสซิลที่มีส่วนทำให้เกิดมลพิษโดยเฉพาะการปล่อยไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO₂) และออกไซด์ของไนโตรเจนอื่นๆ (NOₓ)
-
UN จัดประชุม CBD COP16 อีกครั้ง สรุปประเด็นกองทุนพิทักษ์ระบบนิเวศก่อนกำหนดมาตรการคุ้มครองธรรมชาติใหม่ให้ CBD COP17
คณะผู้แทนจากรัฐบาลจากหลายประเทศจะรวมประชุมเจรจาด้านความหลากหลายทางชีวภาพเป็นเวลา 3 วัน เพื่อหาข้อสรุปสุดท้ายเกี่ยวกับการขับเคลื่อนกองทุนพิทักษ์ระบบนิเวศ แม้จะมีความคืบหน้าในมาตรการการคุ้มครองความหลากหลายทางชีวภาพในการประชุม CBD (Convention on Biological Diversity) COP16 [1] เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2567 แต่เหตุการณ์การระงับประชุมในชั่วโมงสุดท้ายที่เกิดขึ้นที่โคลอมเบียสร้างความผิดหวังให้ทั้งพรรคการเมืองหลายพรรคและกลุ่มภาคประชาสังคม ข้อตกลงที่จะเกิดขึ้นในการเจรจาครั้งนี้จะต้องเป็นกองทุนที่รับประกันได้ว่าจะสามารถปกป้องและฟื้นฟูระบบนิเวศในช่วงหลายสิบปีข้างหน้าได้เท่าเทียมกัน
-
กรีนพีซเข้าร่วมการพิจารณาคดี SLAPP หลังบริษัทเอนเนอร์จี ทรานสเฟอร์ ยื่นฟ้องในศาล
ตัวแทนจากกรีนพีซสากล (Greenpeace International) และกรีนพีซสองแห่งในสหรัฐอเมริกาเดินทางถึงศาลมอร์ตันเคาน์ตีในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ เพื่อต่อสู้กับคดีฟ้องร้องที่ปราศจากมูลความจริง ซึ่งถูกยื่นฟ้องโดยบริษัทเอนเนอร์จี ทรานสเฟอร์ (ET)
-
NDCs คืออะไร ทำไมจึงกลายเป็นหัวใจสำคัญของความตกลงปารีส
ภายใต้เงื่อนไขของความตกลงปารีส แต่ละประเทศจะต้องเผยแพร่และสื่อสารแผนปฏิบัติการด้านสภาพภูมิอากาศ และแผนการ NDCs เหล่านี้ควรมีรายละเอียดถึงความพยายามของแต่ละประเทศที่จะลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกระดับประเทศ (GHG) และแผนการรับมือกับผลกระทบจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศ