All articles
-
ฮักภาคเหนือบ่เอาถ่านหิน
หาก SCG ยังมีส่วนเดินหน้าโครงการเหมืองถ่านหินแม่ทะและรับซื้อถ่านหินจากโครงการเหมืองถ่านหินอมก๋อย การประกาศนโยบายด้านความยั่งยืนและนโยบายด้านสิทธิมนุษยชนทั้งหมดของ SCG ย่อมมีค่าเป็นเพียงการฟอกเขียว เป็นการลดทอนหลักการชี้แนะแห่งสหประชาชาติด้านธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน (UNGP) อีกทั้งเป็นการสร้างความเข้าใจต่อนโยบายความยั่งยืนของบริษัทที่ไม่ครบถ้วนต่อทั้งผู้บริโภค ผู้ถือหุ้นของบริษัท และประชาชน
-
บทวิเคราะห์ SCG กับความรับผิดชอบต่อสังคมที่มิอาจปฏิเสธได้
หาก SCG ยังมีส่วนเดินหน้าโครงการเหมืองถ่านหินแม่ทะและรับซื้อถ่านหินจากโครงการเหมืองถ่านหินอมก๋อย การประกาศนโยบายด้านความยั่งยืนและนโยบายด้านสิทธิมนุษยชนทั้งหมดของ SCG ย่อมมีค่าเป็นเพียงการฟอกเขียว เป็นการลดทอนหลักปฏิบัติสากลด้านธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน
-
ความเป็นธรรมทางสิ่งแวดล้อมและสภาพภูมิอากาศที่ยังคงเลือนรางต่อไป ในคำแถลงนโยบายของรัฐบาลใหม่ต่อรัฐสภาวันที่ 12 กันยายน 2567
check list เปรียบเทียบ ข้อเสนอนโยบายสิ่งแวดล้อมที่รวบรวมจากการทำงานรณรงค์อย่างต่อเนื่องในช่วงหลายปีที่ผ่านมากับคำแถลงนโยบายของรัฐบาลต่อรัฐสภาในวันที่ 11 กันยายน 2566 โดยนายเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี และคำแถลงนโยบายของรัฐบาลต่อรัฐสภาในวันที่ 12 กันยายน 2567 โดยนางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรีคนล่าสุด
-
#ฮักเจียงใหม่บ่เอาถ่านหิน : เจษฎา กล่อมลีลา และ เอกชัย ดำรงสกุลไพร : Chained to the Rhythm
“ผมเกิดในหมู่บ้านกะเหรี่ยงสะกอที่ ‘อมก๋อย’ ครับ หมอตำแยเป็นคนนำผมออกมาสู่โลกภายนอก ไม่ได้ไปคลอดที่โรงพยาบาล” เจษฎา กล่อมลีลา เกิดปี 2541 ปีนั้นเป็นปีที่ยานเคลเมนไทน์ค้นพบน้ำในหลุมที่ขั้วของดวงจันทร์ซึ่งเป็นประโยชน์ในการตั้งถิ่นฐานในอนาคต ปีนั้นเป็นปีที่บริษัทไมโครซอฟท์วางจำหน่ายวินโดวส์ 98
-
มลพิษทางอากาศยังคงเป็นความเสี่ยงจากเหตุปัจจัยภายนอกภัยคุกคามสุขภาพมนุษย์ เนื่องจากหลายประเทศยังไม่สามารถกำหนดหรือปฏิบัติตามค่ามาตรฐานอากาศสะอาดที่กำหนดไว้
แม้ว่ามลพิษทางอากาศจะลดลงเล็กน้อยเนื่องจากแนวโน้มที่เปลี่ยนไปในภูมิภาคเอเชียใต้ แต่มากกว่าสามในสี่ของประเทศทั่วโลกยังไม่ได้กำหนดหรือไม่สามารถปฏิบัติตามค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศระดับชาติได้
-
ชวนทำ Possible PDP ให้แผนพลังงานไทยทำเพื่อคนใช้ไฟและนำประเทศสู่โลกที่ดีกว่า
เมื่อภาคประชาชนยังตั้งคำถามต่อค่าไฟฟ้าที่แพงและไม่เป็นธรรม จึงเกิดการถกเถียงในวงกว้างต่อแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้า หรือ PDP ที่กำลังถูกร่างขึ้นใหม่อีกครั้งโดยสำนักงานนโยบายและแผนพลังงานกระทรวงพลังงาน (สนพ.)
-
คนไทยอยู่ตรงไหนในแผน PDP : แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศที่มั่นคง ยั่งยืนและเป็นธรรมกับประชาชน ควรเป็นอย่างไร
เมื่อพูดถึงแผนพลังงานแห่งชาติ สำหรับคนธรรมดาทั่วไปแบบพวกเราแล้วดูเหมือนจะเป็นเรื่องไกลตัวมาก แต่รู้หรือไม่ว่าเจ้าแผนพลังงานแห่งชาตินี่แหละที่จะเป็นตัวกำหนดว่าเราต้องจ่ายค่าไฟแพงหรือถูก
-
เครือข่ายเพื่อพลังงานที่ยุติธรรมสำหรับทุกคน ถกถามแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้า (PDP2024) เพื่อประชาชนและโลกที่ดีกว่าเดิม
เครือข่ายเพื่อพลังงานที่ยุติธรรมสำหรับทุกคน จัดงาน “A Better World is Possible: ถกถามแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้า (PDP2024) เพื่อประชาชนและโลกที่ดีกว่าเดิม” เพื่อให้ประชาชนผู้จ่ายค่าไฟฟ้าได้รับรู้ และเข้าใจต่อร่างแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าปี 2567 และเรียกร้องให้นายเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรีในฐานะประธานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ
-
จดหมายเปิดผนึกและข้อเสนอถึงรัฐบาล เศรษฐา ทวีสิน “ทบทวนกระบวนการและแผน PDP2024 ที่ไม่มั่นคง แพงและไม่พาประเทศสู่การบรรลุเป้าหมาย Net zero”
จากกระบวนการรับฟังความเห็น ที่ไม่ดำเนินการให้เป็นไปตามหลักการมีส่วนร่วมของประชาชนที่ถูกบัญญัติรับรองไว้ทั้งในรัฐธรรมนูญและกฎหมาย จึงขอเรียกร้องให้รัฐบาลทบทวนร่างแผน PDP ฉบับนี้ และเปิดให้มีกระบวนการกระบวนการรับฟังความเห็นที่รอบด้านอย่างแท้จริง
-
PDP ตัวต้นเรื่องค่าไฟแพง
ถ้าคุณเป็นคนหนึ่งที่ตั้งคำถามเสมอว่า “เดือนนี้ก็ใช้ไฟน้อยแต่ทำไมค่าไฟถึงแพงขึ้น” ลองหันมาทำความรู้จักกับแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย หรือ Power Development Plan (PDP ) ที่เรามักเรียกกันว่าแผนพีดีพี