-
สรุปเสวนาถอดบทเรียนยกร่างสนธิสัญญาทะเลหลวง
สัมมนาทางวิชาการ “เรื่อง UN Ocean Treaty : ถอดบทเรียนกระบวนการยกร่างสนธิสัญญาพหุภาค” ที่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้มีการพูดคุยสรุปประเด็นสนธิสัญญาฉบับนี้ในแง่กฎหมาย ถอดบทเรียนการได้มาซึ่งสนธิสัญญา พร้อมถกความท้าทายที่จะเกิดขึ้นหลังการลงนามสนธิสัญญาอย่างเป็นทางการ บล็อกนี้เราสรุป 3 ข้อที่น่าสนใจจากการเสวนาครั้งนี้
-
การตอบโต้ของชาวคำป่าหลายต่อการแย่งยึดที่ทำกินและการฟอกเขียว
นอกจาก “ทวงคืนผืนป่า” ที่เป็นมรดกของการใช้อำนาจที่บิดเบี้ยว ยังมี “เขตเศรษฐกิจพิเศษ” ที่ผลักดันโดยอุตสาหกรรมเหมืองแร่และอุตสาหกรรมพลังงานสะอาดที่ฟอกเขียว ที่ซ้อนทับลงไปบนชะตากรรมของ “คำป่าหลาย” อีกชั้นหนึ่ง
-
เปิดโปงการฟอกเขียวในอุตสาหกรรม Fast Fashion : รวมกลยุทธ์ที่แบรนด์ใช้ปิดบังต้นทุนทางสิ่งแวดล้อม
ตั้งแต่ปี 2543 ถึงปี 2557 การผลิตเสื้อผ้าเพิ่มสูงขึ้นเป็นเท่าตัว จนถึงจำนวนการผลิตราว 100 พันล้านตัว ซึ่งเกินจุดที่ไม่ยั่งยืนของการผลิตในแต่ละปี
-
พูดคุยกับ ‘ทอฝัน’ อาสาสมัครกรีนพีซที่เริ่มเส้นทางนักสำรวจขยะพลาสติกสู่การขับเคลื่อนประเด็น Fast Fashion
4 ปีที่แล้วเราได้คุยกับทอฝัน กันทะมูล (แตงกวา) ผ่านกิจกรรม “Brand Audit เก็บ สังเกต บันทึก รู้จักที่มาของขยะผ่านแบรนด์” 4 ให้หลังเราได้คุยกับแตงกวาอีกครั้ง ดูกันดีกว่านักสำรวจขยะพลาสติกของเราเป็นอย่างไรบ้าง
-
ผู้เชี่ยวชาญระบุ ผลกระทบหลังเขื่อนคาคอฟกาพังทลาย ทำให้ดินและน้ำปนเปื้อน ผลิตอาหารและดื่มไม่ได้อีกเป็นเวลาหลายปี
การรุกรานยูเครนของรัสเซียทำให้เขื่อนคาคอฟกาพังทลายเมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2566 อาจเป็นเหตุให้มีการรั่วไหลของสารเคมี ก๊าซ น้ำมัน และน้ำมันเชื้อเพลิงที่ใช้ในบ้านเรือน ภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรมและภาคพาณิชยกรรมในเขตพื้นที่น้ำท่วม
-
พบกับผู้หญิงแห่งกรีนพีซ เมื่อเสียงของผู้หญิงดังพอที่จะขอยุติการใช้พลังงานฟอสซิล
ผู้หญิงมักได้รับผลกระทบจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศมากกว่ากลุ่มอื่น ๆ พวกเธอต้องเผชิญกับสภาพการทำงานที่หนักขึ้น ความเสี่ยงด้านสุขภาพที่สูงขึ้น และจะต้องเผชิญกับการลี้ภัยทางสภาพภูมิอากาศที่มากขึ้น
-
แถลงการณ์กรีนพีซ ประเทศไทย กรณีนักวิชาการอิสระ สฤณี อาชวานันทกุล ถูกฟ้องร้องจากการนำเสนอข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับอุตสาหกรรมพลังงาน
การดำเนินคดีเชิงยุทธศาสตร์เพื่อระงับการมีส่วนร่วมของสาธารณชน(Strategic Lawsuit Against Public Participation-SLAPP) ต่อประชาชน สื่อมวลชน และนักวิชาการอิสระผู้เปิดเผยข้อมูลและวิพากษ์วิจารณ์การทำงานของภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ รวมถึงกลุ่มทุนเกี่ยวกับโครงการพัฒนาขนาดใหญ่ที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชน ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและสุขภาพมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง
-
โค้งสุดท้าย! ส่องนโยบายพรรคการเมืองเรื่องสิทธิด้านสิ่งแวดล้อมผ่านเวทีสิทธิมนุษยชน ก่อนเข้าคูหา
เปิดวิสัยทัศน์พรรคการเมือง 12 พรรค ส่องนโยบายสิทธิมนุษยชนผ่านเวทีภาคประชาชน โดย กรีนพีซ ประเทศไทย ได้ฝากกระทู้คำถามถึงทั้ง 12 พรรคการเมือง บนเวที
-
อย่าลืม ‘จะนะ’ และทะเลไทย : เพราะการพัฒนาพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งต้องฟังเสียงชุมชนในพื้นที่
ในการออกแบบนโยบายปกป้องทะเลและมหาสมุทร ผู้ออกแบบหรือพรรคการเมืองควรจะต้องให้ความสำคัญกับสิทธิชุมชนและการกระจายอำนาจสู่ประชาชนในการกำหนดอนาคตตนเอง บนข้อมูลด้านทรัพยากรและหลากหลายทางชีวภาพของทะเลและชายฝั่ง รวมทั้งศักยภาพของชุมชน
-
ขยะพลาสติกผู้ผลิตต้องรับผิดชอบ : หยุดผลักภาระให้ประชาชน ต้องแก้ปัญหามลพิษพลาสติกที่ต้นตอของวิกฤต
เพราะมลพิษพลาสติกส่งผลกระทบต่อประชาชนและสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะต่อสุขภาพของประชาชน ปัญหาขยะพลาสติกจึงเป็นปัญหาใหญ่ที่ต้องมีหลายภาคส่วนเข้ามาร่วมแก้ไปพร้อม ๆ กัน ทั้งเชิงโครงสร้างและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม