All articles
-
อุบัติภัยอุตสาหกรรมปิโตรเคมีที่มาบตาพุดครั้งล่าสุดย้ำถึงความจำเป็นของสนธิสัญญาพลาสติกโลกในการลดการผลิตพลาสติกเพื่อปกป้องสภาพภูมิอากาศและยุติสารเคมีเป็นพิษเพื่อคุ้มครองสุขภาพของมนุษย์
ความเสี่ยงต่อสุขภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมจากมลพิษอุตสาหกรรมพลาสติกนั้นแตกต่างกันไป คนส่วนใหญ่ทั่วโลกจะรับสัมผัสอนุภาคพลาสติกและสารเคมีที่เกี่ยวข้องในหลายขั้นตอนของวงจรชีวิตของพลาสติก ในที่นี้ เราจะเปิดปูมให้เห็นถึงมลพิษจากอุตสาหกรรมพลาสติกพีวีซีในประเทศไทย
-
สุดช็อก! รายงานกรีนพีซ แอฟริกาเผยผลกระทบของสารพิษในกานา จากขยะสิ่งทออุตสาหกรรมฟาสต์แฟชั่น
รายงานฉบับใหม่ของกรีนพีซ แอฟริกาและกรีนพีซ เยอรมนี เปิดโปงความเสียหายด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมระดับวิกฤตในกานา โดยมีสาเหตุจากอุตสาหกรรมการซื้อขายสิ่งทอมือสองระดับโลก รายงานที่มีชื่อว่า “Fast Fashion, Slow Poison: The Toxic Textile Crisis in Ghana,” เปิดโปงผลกระทบและความเสียหายด้านสิ่งแวดล้อม ผลกระทบต่อชุมชนและระบบนิเวศในกานา จากการทิ้งขยะสิ่งทอ (เสื้อผ้า เครื่องประดับ รองเท้า ฯลฯ) จากกลุ่มประเทศซีกโลกเหนือ โดยส่วนใหญ่เป็นเสื้อผ้าจากอุตสาหกรรมฟาสต์แฟชั่น
-
ความเป็นธรรมทางสิ่งแวดล้อมและสภาพภูมิอากาศที่ยังคงเลือนรางต่อไป ในคำแถลงนโยบายของรัฐบาลใหม่ต่อรัฐสภาวันที่ 12 กันยายน 2567
check list เปรียบเทียบ ข้อเสนอนโยบายสิ่งแวดล้อมที่รวบรวมจากการทำงานรณรงค์อย่างต่อเนื่องในช่วงหลายปีที่ผ่านมากับคำแถลงนโยบายของรัฐบาลต่อรัฐสภาในวันที่ 11 กันยายน 2566 โดยนายเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี และคำแถลงนโยบายของรัฐบาลต่อรัฐสภาในวันที่ 12 กันยายน 2567 โดยนางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรีคนล่าสุด
-
การเจรจาใน INC-5 ต้องเน้นการลดการผลิต โปร่งใสและรับฟังเสียงของภาคประชาสังคม
กรุงเทพฯ, ประเทศไทย -29 สิงหาคม 2567– หลังจากที่การประชุมระหว่างสมัย (Intersessional Work) ซึ่งจัดขึ้นก่อนหน้าการเจรจาสนธิสัญญาพลาสติกโลก (Global Plastic Treaty) ที่เป็นมาตรการด้านมลพิษพลาสติกและสิ่งแวดล้อมทางทะเล ที่มีผลผูกพันทางกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งจัดขึ้นที่กรุงเทพฯ ระหว่างวันที่ 24-28 สิงหาคม 2567 ได้จบลง สนธิสัญญานี้คือความหวังในการยุติวิกฤตมลพิษพลาสติก
-
ภาคประชาสังคมเรียกร้องให้ยุติการใช้ซองซาเช่ที่ก่อมลพิษในช่วงการเจรจาเกี่ยวกับสนธิสัญญาพลาสติกโลก
ผู้นำภาคประชาสังคมยังเรียกร้องความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมมากขึ้น ในการเจรจาสนธิสัญญาพลาสติกโลกที่กำลังจะถึง
-
แถลงการณ์ของกรีนพีซกรณีการล็อบบี้ของอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงฟอสซิลในการเจรจาสนธิสัญญาพลาสติกโลก
ศูนย์กฎหมายสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ (Center for International Environmental Law) ซึ่งเปิดเผยว่ามีนักล็อบบี้ที่เป็นตัวแทนของอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงฟอสซิลและอุตสาหกรรมเคมีจำนวน 196 คน ถูกส่งเข้าร่วมการประชุมคณะกรรมการเจรจาระหว่างรัฐบาลครั้งที่สี่ (INC4) เพื่อจัดทำสนธิสัญญาพลาสติกโลก
-
กรีนพีซชี้นโยบายบรรจุภัณฑ์ยั่งยืนของเครือเจริญโภคภัณฑ์ (CP Group) ไม่เพียงพอในการต่อกรวิกฤตมลพิษพลาสติก
กรุงเทพฯ, 25 เมษายน 2567– กรีนพีซ ประเทศไทยแถลงวิพากษ์นโยบายบรรจุภัณฑ์ยั่งยืนของเครือเจริญโภคภัณฑ์ (CP Group) ระบุนโยบายดังกล่าวยังไม่เพียงพอในการต่อกรกับวิกฤตมลพิษพลาสติก แม้ว่าเครือเจริญโภคภัณฑ์จะอ้างว่ามีความก้าวหน้าในการดำเนินงาน แต่การดำเนินงานส่วนใหญ่กลับเน้นการจัดการพลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้งที่ปลายทาง ซึ่งไม่มีทางที่จะแก้ปัญหามลพิษพลาสติกที่ต้นเหตุ
-
CP’s Plastic Pollution Unmasked-บทวิพากษ์ของกรีนพีซต่อนโยบายบรรจุภัณฑ์ยั่งยืนของเครือเจริญโภคภัณฑ์
รายงาน “บทวิพากษ์ของกรีนพีซต่อนโยบายบรรจุภัณฑ์ยั่งยืนของเครือเจริญโภคภัณฑ์ (CP’s Plastic Pollution Unmasked) นี้ กรีนพีซ ประเทศไทยมุ่งประเมินนโยบายบรรจุภัณฑ์ที่ยั่งยืน (Sustainable Packaging Policy) ของ 2 บริษัทหลักในกลุ่มบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์คือบริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด(มหาชน) หรือ CPALL ซึ่งครอบคลุมธุรกิจค้าปลีก-ส่งและร้านสะดวกซื้อที่สำคัญ
-
สนธิสัญญาพลาสติกโลกจะต้องลดการผลิตพลาสติกลง เพื่อปกป้องพวกเราจากมลพิษพลาสติก
คุณเคยเห็นการลงประชามติที่มีผู้ออกเสียงลงคะแนนเห็นชอบถึงร้อยละ 80 ไหม แม้จะเป็นเหตุการณ์ที่เคยเกิดขึ้นมาก่อน แต่ก็ไม่ใช่สิ่งที่จะเกิดขึ้นได้บ่อยครั้ง ผลการลงประชามตินี้จึงนับเป็นก้าวสำคัญที่แสดงให้เห็นว่ามาตรการที่เสนอไปนั้นได้รับการสนับสนุนในวงกว้าง และจะต้องมีการพิจารณาผลการลงประชามตินี้อย่างจริงจัง
-
สนธิสัญญาพลาสติกโลก สู่การยุติมลพิษพลาสติก สำคัญอย่างไรต่อสังคมไทย
สนธิสัญญาพลาสติกโลก (Global Plastic Treaty) คือมาตรการด้านมลพิษจากพลาสติกรวมทั้งสิ่งแวดล้อมทางทะเล ที่มีผลผูกพันทางกฎหมายระหว่างประเทศ โดยสนธิสัญญานี้คือความหวังในการยุติวิกฤตมลพิษพลาสติก