All articles
-
ต้อนรับปีใหม่ 2568 พร้อมความสำเร็จในงานรณรงค์ของกรีนพีซ
เราขอขอบคุณผู้สนับสนุนกรีนพีซทุกคนที่เป็นคนสำคัญต่อความสำเร็จในการปกป้องสิ่งแวดล้อมและสิทธิมนุษยชนตลอดปี 2567 ที่ผ่านมา ตลอดปีกรีนพีซรณรงค์และมีความสำเร็จอะไรบ้างมาดูกันดีกว่า
-
รายงาน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไม้เป็นพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่มีต่อปริมาณน้ำท่า (runoff) พื้นที่เสี่ยงน้ำท่วม (flood risk areas) และพื้นที่เสี่ยงดินโคลนถล่ม (landslide risk areas) บริเวณพื้นที่ลุ่มน้ำติดต่อระหว่างประเทศไทย เมียนมา และสปป.ลาว
งานวิจัยของกรีนพีซ ร่วมกับคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ศึกษาถึงความเชื่อมโยงของการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไปเป็นพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในบริเวณลุ่มน้ำกก(Nam Mae Kok Basin) และลุ่มน้ำคำ (Nam Mae Kham Basin) บริเวณรอยต่อระหว่างประเทศไทยตอนบน รัฐฉานของเมียนมาและสปป.ลาว โดยวิเคราะห์ผลการเพิ่มขึ้นของพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลียงสัตว์ การเปลี่ยนพื้นที่ป่าไปเป็นพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไม้เป็นพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่มีต่อปริมาณน้ำท่า (runoff) พื้นที่เสี่ยงน้ำท่วม (flood risk areas) และพื้นที่เสี่ยงดินโคลนถล่ม (landslide risk areas)
-
“โลกเย็นที่เป็นธรรม” 5 ปีแห่งการต่อสู้ของคนอมก๋อย สู่ความท้าทายในวิกฤตโลกเดือด
โอ้ ที๊ง แฌ แซ ที๊ง เจ่ ที๊ง เจ่ ทเคแกล้ กแบแฌแซอ้ะ-ดื่มน้ำให้รักษาน้ำ ใช้ป่าให้รักษาป่า” ส่วนหนึ่งของถ้อยแถลงการณ์หมู่บ้านกะเบอะดินได้ตอกย้ำถึงวิถีชนพื้นเมืองชาติพันธุ์ที่อยู่ดูแลป่า และส่งเสียงถึงรัฐบาลที่เอื้อประโยชน์ให้กับบริษัทมากกว่าปกป้องชุมชนท้องถิ่น
-
ความท้ายทายในวิกฤตโลกเดือด : ครบรอบ 5 ปี การต่อสู้คัดค้านโครงการเหมืองถ่านหินอมก๋อย
กลุ่มเครือข่ายเฝ้าระวังอมก๋อย จัดงาน “โลกเย็นที่เป็นธรรม: 5 ปีแห่งการต่อสู้ของคนอมก๋อย สู่ความท้าทายในวิกฤตโลกเดือด” ที่คริสตจักรกะเบอะดิน อ.อมก๋อย จ.เชียงใหม่ นำเสนอความท้าทายที่ชุมชนชาติพันธุ์และชนเผ่าพื้นเมืองต้องเผชิญ ไม่ว่าจะเป็นวาทกรรมตีตราในวิถีชีวิตและการโยนความผิดให้ชนเผ่าพื้นเมืองว่าเป็นผู้ก่อวิกฤตโลกเดือด
-
ทำไมการชดเชยคาร์บอน (Offsets) และการลดคาร์บอนแบบอินเซ็ต (Insets) ถึงไม่ใช่ทางออกของวิกฤตโลกเดือด
นี่คือกลอุบายและกลยุทธ์นานัปการที่บริษัทอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์นมรายใหญ่ใช้ฟอกเขียวความพยายามที่จะบรรเทาผลกระทบต่อสภาพภูมิอากาศของตน จะเบนเข็มไปจากลดการผลิตและการบริโภคปศุสัตว์ที่เกินขนาด ซึ่งจะเป็นวิธีการแก้วิกฤตโลกเดือดที่อุตสาหกรรมเหล่านี้เป็นผู้ก่อได้ตั้งแต่ต้นทาง
-
เพราะเหตุใดลดมีเทนจาก Food Waste จึงไม่เท่าลดการผลิตล้นเกินของอุตสาหกรรมอาหารและเนื้อสัตว์
การทำปศุสัตว์เป็นแหล่งผลิตก๊าซมีเทนจากมนุษย์รายใหญ่ที่สุด ซึ่งก๊าซมีเทนเป็นก๊าซเรือนกระจกที่มีศักยภาพในการทำให้อุณหภูมิสูงขึ้นเร็วในระยะเวลาสั้น การเพิ่มขึ้นของการผลิตปศุสัตว์เป็นปัจจัยสำคัญอันดับสองที่ส่งผลต่อการเพิ่มขึ้นของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในระบบอาหารโลก อันเป็นผลมาจากการเพิ่มขึ้นของประชากรอย่างรวดเร็วในช่วงไม่กี่ทศวรรษที่ผ่านมา
-
การชดเชยคาร์บอนเครดิตจะไม่ช่วยกู้วิกฤตโลกเดือด ถึงเวลาทางออกด้านสภาพภูมิอากาศที่แท้จริง
หากใครที่ยังไม่คุ้นเคยกับคำว่า ‘ตลาดคาร์บอน’ เราก็อยากจะขออธิบายให้เข้าใจง่าย ๆ ว่า มันไม่ใช่สิ่งที่ดี เพราะความจริงแล้ว ตลาดคาร์บอนเป็นเครื่องมือที่อนุญาตให้เหล่าผู้ก่อวิกฤตโลกเดือดสามารถปล่อยมลพิษสร้างหายนะต่อสภาพภูมิอากาศต่อไปได้ ตลาดคาร์บอนจึงเป็นทั้งทางแก้ปัญหาที่ผิดและเป็นการหลอกลวง
-
ไฮปาร์คเน้น ๆ จากม็อบหยุดวิกฤตโลกเดือดที่ต้นเหตุ : ประชาชนถาม รัฐบาลหยุดเอื้อนายทุนฟอกเขียวกี่โมง?
เราอยากฝากให้รัฐบาลนำเสียงของพี่น้องชาวไทยทุกคน ทุกพื้นที่ และข้อเรียกร้องของเครือข่ายพันธมิตรที่อยากเห็นความเป็นธรรมทางสภาพภูมิอากาศและต้องการให้รัฐบาลไทยที่ร่วมเจรจาในเวที COP29 จะต้องหยุดวิกฤตโลกเดือดที่ต้นเหตุ เพราะวิกฤตนี้กำลังก่อให้เกิดวิกฤตทางด้านสิทธิมนุษยชน การประชุมครั้งนี้ต้องปฏิเสธวิธีการชดเชยคาร์บอน ที่อาจเป็นเครื่องมือให้กลุ่มผู้ก่อภาวะโลกเดือดใช้กลยุทธิ์นี้เพื่อการฟอกเขียว
-
ที่ COP29 เหล่าผู้นำโลกมีโอกาสชะลอวิกฤตสภาพภูมิอากาศได้
ในการประชุมมีการหารือเกี่ยวกับเรื่องระบบอาหาร เกษตรกรรม และทรัพยากรน้ำ โดยผู้กำหนดนโยบายที่เข้าร่วมการประชุมเพื่อหารือเกี่ยวกับประเด็นสภาพภูมิอากาศนี้ต่างต้องยอมรับว่าระบบอาหาร (Food system) นั้นมีส่วนทำให้เกิดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยมนุษย์มากถึง 37% และถ้าเราเริ่มดำเนินการอย่างจริงจังและปฏิรูประบบเหล่านี้ เราจะสามารถลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้มหาศาล ควบคู่ไปกับการฟื้นฟูธรรมชาติ
-
จดหมายเปิดผนึกต่อยุทธศาสตร์ฟ้าใส (Clear Sky Strategy) ในการต่อกรกับฝุ่นพิษข้ามพรมแดน
จดหมายเปิดผนึกถึงรัฐบาลไทย เรียกร้องให้ใช้ระบบตรวจสอบย้อนกลับที่โปร่งใสและเปิดเผยต่อสาธารณะในการต่อกรกับฝุ่นพิษข้ามพรมแดน