-
เอกสารสรุปสำหรับสื่อมวลชน: กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และงานรณรงค์ด้านฝุ่นพิษข้ามพรมแดน
ในวันที่ 7-8 มิถุนายน 2566 ตัวแทนประเทศจากบรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ และไทย จะร่วมประชุมอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations – ASEAN) ที่สิงคโปร์ ในเรื่องฝุ่นพิษข้ามพรมแดน
-
กรีนพีซถึงผู้นำอาเซียน: เร่งลงมือแก้ไขปัญหาฝุ่นพิษข้ามพรมแดน
7 มิถุนายน 2566, สิงคโปร์ — ผู้นำจากห้าประเทศในภูมิภาคอาเซียน (Association of Southeast Asian Nations – ASEAN) กำลังประชุมหารือในวันที่ 7-8 มิถุนายน 2566 ในประเด็นปัญหาฝุ่นพิษข้ามพรมแดน และวางแผนข้อตกลงความร่วมมือระดับภูมิภาค
-
ค่ามาตรฐานฝุ่นใหม่มาแล้ว หน่วยงานรัฐมีมาตรการอะไรหรือยัง?
การยกระดับค่ามาตรฐานฝุ่นพิษ PM2.5 มาพร้อมความท้าทายว่ารัฐจะดำเนินโยบายอย่างจริงจังมากขึ้นเพื่อกำหนดให้ปริมาณการปล่อยฝุ่นพิษ PM2.5 ต้องต่ำกว่าค่ามาตรฐานตัวใหม่นี้อย่างไร
-
เราจะแยกการเรียกร้องเพื่อความเสมอภาคกับการตลาดอย่างไร ในยุคที่เต็มไปด้วย ‘การซักฟอก’
การขับเคลื่อนเพื่อเรียกร้องสิทธิ์เช่นนี้ไม่ใช่เรื่องง่าย ยังมีความท้าทายที่รอพวกเราอยู่อีกมากมาย หนึ่งในนั้นคือกระแสการ ‘ซักฟอก’ หรือเทรนด์การ washing จากอุตสาหกรรมใหญ่ เราจะไม่ตกหลุมพรางการซักฟอกเหล่านี้ มาทำความรู้จัก ‘การซักฟอก’ โดยเฉพาะ การฟอกเขียว (Greenwashing) ที่เกิดขึ้นในองคาพยพการปกป้องสิ่งแวดล้อมและสภาพภูมิอากาศ
-
ภาคประชาสังคมเรียกร้องสหประชาชาติหยุดกลุ่มอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงฟอสซิลที่อาจลดทอนการเจรจาสนธิสัญญาพลาสติกโลก
ภาคประชาสังคมและนักวิทยาศาสตร์กว่า 150 กลุ่มทั่วทุกมุมโลก รวมถึงนักชาติพันธุ์วิทยา นักมานุษยวิทยาและดร.เจน กู๊ดดอลล์ ทูตสันติภาพของสหประชาชาติได้ร่วมลงนามในจดหมายเปิดผนึกถึงสหประชาชาติให้จับตามองอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงฟอสซิลระหว่างการเจรจาสนธิสัญญาพลาสติกโลก เพื่อให้การเจรจาครั้งนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดีและมีประสิทธิภาพ
-
Hazibition นิทรรศการใต้ฝุ่นควัน
Hazibition นิทรรศการใต้ฝุ่นควัน ฝุ่นภาคเหนือมาจากไหน แล้วใครต้องรับผิดชอบ?
-
นักกิจกรรมด้านสภาพภูมิอากาศ ประท้วงกลางมหกรรมซื้อขายเครื่องบินส่วนตัวในยุโรป คัดค้านการปล่อยมลพิษจากกลุ่มคนร่ำรวย
นักกิจกรรมด้านสภาพภูมิอากาศกว่าร้อยคนและกลุ่มนักเคลื่อนไหวเพื่อสภาพภูมิอากาศอีกกว่า 17 ประเทศ เข้าประท้วงในมหกรรมการซื้อขายเครื่องบินส่วนตัวที่ใหญ่ที่สุดในยุโรป
-
ทำไมเราต้องเรียกร้อง ‘สนธิสัญญาพลาสติกโลก’
เพราะสนธิสัญญาพลาสติกโลกจะเป็นโอกาสที่จะทำให้เรายุติมลพิษพลาสติกที่กำลังเกิดขึ้นได้ ซึ่งก่อนหน้านี้การเจรจาสนธิสัญญาพลาสติกโลกเริ่มขึ้นในปี 2565 และเรามีเวลาจนถึงปี 2567 เพื่อทำให้สนธิสัญญาฉบับนี้เกิดขึ้นจริง มีความเข้มแข็ง มุ่งมั่น และมีผลบังคับใช้อย่างเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้
-
นิทรรศการHazilla ปีศาจฝุ่นร้ายข้ามพรมแดนจากการลงทุนข้ามแดน
ปัญหามลพิษข้ามพรมแดนดูจะเป็นสิ่งที่ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ต้องเผชิญร่วมกัน มาเลเซียเป็นอีกประเทศหนึ่งที่ประสบฝุ่นพิษข้ามแดน
-
อย่าให้เมืองจมที่รุ่นเรา : นโยบายสิ่งแวดล้อมต้องไม่ลืมเรื่องวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
เพราะไทยเป็นหนึ่งในประเทศ 10 อันดับต้นที่มีความเสี่ยงมากที่สุดในโลกจากผลกระทบของ วิกฤตสภาพภูมิอากาศในระยะยาว กรุงเทพ ฯ เป็น 1 ใน 7 เมือง ที่กำลังเผชิญกับความเสี่ยงจากน้ำท่วมที่มากขึ้นเนื่องจากการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเลและพายุโซนร้อนที่เข้มข้นมากขึ้นอีกด้วย