All articles
-
ความจริงเกี่ยวกับถ่านหิน
ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับโรงไฟฟ้าถ่านหิน สารปรอท และ สารก่อมลพิษอื่นๆ
-
มายาคติของเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด
มายาคติที่ 1 : เทคโนโลยีการเผาไหม้ที่มีประสิทธิภาพสามารถเพิ่มประสิทธิผล และลดการปล่อยก๊าซเสียได้
-
กระชากหน้ากาก “ถ่านหินสะอาด”
ถ่านหินเป็นสาเหตุหลักของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งเป็นภัยคุกคามต่อสิ่งแวดล้อมที่รุนแรงที่สุดที่เรากำลังเผชิญ ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิงฟอสซิลที่เต็มไปด้วยธาตุคาร์บอน โดยปล่อยคาร์บอนไดออกไซต์มากกว่าน้ำมัน 29% และปล่อยคาร์บอนไดออกไซต์ ต่อหน่วยพลังงานมากกว่าก๊าซ 80%
-
พลังความร้อนใต้พิภพ
พลังงานความร้อนใต้พิภพ [Geothermal - Geo (พื้นดิน) Thermal (ความร้อน)]หมายถึงการใช้งานอย่างหนักจากความร้อนด้านในของโลก แกนของโลกนั้นร้อนอย่างเหลือเชื่อ โดยร้อนถึง 5,500 องศาเซลเซียส (9,932 องศาฟาเรนไฮท์) จากการประมาณการเมื่อเร็วๆ นี้
-
พลังงานลม
2 ทศวรรษแห่งความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีก่อให้เกิดกังหันลมที่ทันสมัยที่มีอุปกรณ์ทำงานร่วมกันได้และติดตั้งได้รวดเร็ว ในปัจจุบัน กังหันลมสมัยใหม่เพียงตัวเดียวมีพลังมากกว่ากังหันลมขนาดเท่ากันเมื่อ 2 ทศวรรษที่แล้ว 100 เท่า และปัจจุบันฟาร์มกังหันลมให้พลังงานมากเท่ากับโรงไฟฟ้าทั่วไป
-
รายงาน “ต้นทุนจริงของถ่านหิน”
รายงานฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อค้นหาคำตอบของคำถามต่อไปนี้: ขณะนี้มูลค่าของค่าใช้จ่ายที่เราจ่ายไปกับการใช้ถ่านหินมีมูลค่าเท่าใด?
-
เศรษฐศาสตร์พลังงานนิวเคลียร์
ในช่วงสองทศวรรษที่ผ่านมา คำสั่งซื้อเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ใหม่ลดลงอย่างมากทั่วโลกเหตุผลประการหนึ่งคือเศรษฐกิจที่ตกต่ำซึ่งเป็นเหตุให้คนละทิ้งพลังงานนิวเคลียร์
-
ถ่านหิน – มหันตภัยโลกร้อนหมายเลข 1
จากเหมืองถ่านหินไปจนถึงการเผาไหม้ ถ่านหินได้ก่อให้เกิดความเสียหายทางสิ่งแวดล้อม ที่กลายเป็นปัญหาระดับโลก เนื่องจากถ่านหินสกปรกมากกว่าก๊าซและน้ำมัน นอกจากนี้ยังเป็นตัวการใหญ่ที่ส่งผลให้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศขยายขอบเขตความรุนแรงขึ้น
-
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ : อย่าปิดแผ่นฟ้าด้วยฝ่ามือ
เอกสาร ‘โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ : อย่าปิดแผ่นฟ้าด้วยฝ่ามือ’ เล่มนี้ ไม่ได้มีเป้าหมายที่จะคัดค้านโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ให้ได้ แต่พยายามให้ข้อมูลและข้อเท็จจริงอีกด้านหนึ่งรวมทั้งทางเลือกที่เป็นไปได้ของสังคมไทยในกรณีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
-
365 เหตุผล ที่ไม่ควรจำนนต่อพลังงานนิวเคลียร์
การใช้พลังงานนิวเคลียร์คือคำถามเรื่องความอารยะหรือแท้ที่จริงแล้วหลักปรัชญาคนจำนวนน้อยมีสิทธิ์อะไรที่จะทำให้คนจำนวนมากต้องเสี่ยงต่อมหันตภัยร้ายแรง