โพสต์โดย ธารา บัวคำศรี
-
ทำไมฤดูร้อนของไทยอากาศร้อนจนแทบอยู่ไม่ได้ ?
ช่วงเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคมของทุกปี เราสามารถสัมผัสกับอากาศร้อนที่อาจสูงถึง 40°C ในปี 2559 ประเทศไทยต้องเผชิญกับคลื่นความร้อนที่เลวร้ายที่สุดในรอบ 65 ปี
-
ฟอกเขียวแฟร์ 2565: ปีแห่งมหกรรมฟอกเขียวครั้งใหญ่
เรามาดูกันว่า ทำไมปี 2565 ที่กำลังจะผ่านไปนี้จึงสมควรเป็นปีแห่งมหกรรมฟอกเขียวครั้งใหญ่ของไทย
-
การฟอกเขียวและกลลวงคาร์บอนใต้โฉมหน้า Net Zero ของไทย
เราจะวิเคราะห์พร้อมตั้งคำถามและข้อสังเกตต่อ “แผนที่นำทางการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกภายในปี 2573 และยุทธศาสตร์ระยะยาวในการพัฒนาแบบปล่อยก๊าซเรือนกระจกต่ำของประเทศไทยฉบับปรับปรุง(Net Zero)”
-
ความฉ้อฉล ไม่ชอบธรรมและหายนะของ EIA/EHIA โครงการนิคมอุตสาหกรรมจะนะ
การต่อสู้เพื่อยุติโครงการนิคมอุตสาหกรรมจะนะที่เป็นอนาคตแห่งความหายนะ การต่อสู้ของเครือข่ายจะนะรักษ์ถิ่นเพื่อให้รัฐบาลดำเนินกระบวนการประเมินสิ่งแวดล้อมเชิงยุทธศาสตร์(Strategic Environmental Assessment) อย่างมีส่วนร่วม/เป็นธรรม โปร่งใส/และเป็นอิสระ เป็นการต่อสู้ที่ชอบธรรมด้วยประการทั้งปวง
-
ในวันอากาศสะอาดสากล สิทธิในการหายใจของคนไทยยังคงถูกละเมิด
วันนี้ 7 กันยายน 2564 เป็นปีที่สองที่ประชาคมนานาชาติร่วมรณรงค์เพื่ออากาศดีทั่วโลกโดยใช้หัวข้อว่า “อากาศสะอาด โลกแข็งแรง #HealthyAirHealthyPlanet ต่อไปนี้คือสิ่งที่รัฐบาลไทยมอบให้ประชาชนในวันอากาศสะอาดสากล
-
นโยบาย Net Zero Emission ของไทยจะเป็นเพียงหน้าไหว้หลังหลอกหรือไม่?
หนึ่งในไฮไลท์จากมติที่ประชุมคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) ในวันที่ 4 สิงหาคม 2564 ที่ผ่านมา คือ การเห็นชอบกรอบแผนพลังงานชาติ (National Energy Plan) ซึ่งได้กำหนดแนวนโยบายภาคพลังงาน โดยมีเป้าหมายสนับสนุนให้ประเทศไทยสามารถมุ่งสู่พลังงานสะอาดและลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (คาร์บอนไดออกไซด์) สุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero Emission) ภายใน ค.ศ. 2065-2070 (พ.ศ.2608-2613)
-
17 ปี เจริญ วัดอักษร : อนาคตที่เราต้องการ
บทสนทนาสั้น ๆ กับกรณ์อุมา พงษ์น้อย และชัยณรงค์ วงศ์ศศิธร-กลุ่มรักษ์ท้องถิ่นบ่อนอก และสุรีรัตน์ แต้ชูตระกูล-กลุ่มอนุรักษ์ทับสะแก สะท้อนถึง 17 ปีที่ผ่านมาและอนาคตต่อจากนี้
-
กระเทาะเปลือก #CPTPP : วิเคราะห์ข้อบทด้านสิ่งแวดล้อมของความตกลงที่ครอบคลุมและก้าวหน้าสำหรับหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก
แม้รัฐบาลมีบทบาทในการกำกับดูแลการเข้าถึงทรัพยากรธรรมชาติของภาคเอกชนในระดับประเทศ แต่ที่ผ่านมา กฎหมายระหว่างประเทศก็มีอิทธิพลต่อการดำรงไว้ซึ่งแนวทางเสรีนิยมใหม่ในยุคโลกาภิวัฒน์เพื่อครอบครองและแสวงประโยขน์จากทรัพยากร
-
กระแส #NoCPTPP และจุดยืนของกรีนพีซว่าด้วยข้อตกลงทางการค้า
เพื่อให้ได้มาซึ่ง “ระบบการค้าที่เป็นธรรม เท่าเทียมและโปร่งใส” โลกาภิวัตน์จะต้องอยู่ภายใต้กรอบกติกา โดยกรอบกติกาดังกล่าวนี้ต้องเคารพในคุณค่าของชาติและวัฒนธรรม เอื้อต่อการพัฒนาที่ยั่งยืน และดำเนินการตามเป้าหมายของความตกลงด้านพหุภาคีของสหประชาชาติอย่างสัมฤทธิผล
-
ถึงเวลาฟื้นฟูโลก เกิดอะไรขึ้นบ้างกับสิ่งแวดล้อมในช่วงไวรัสโควิดระบาด
ผลกระทบเชิงรูปธรรมของ COVID-19 ที่มีต่อสิ่งแวดล้อม รวมถึงระบบอาหารและเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ยังมีอยู่อย่างจำกัด ด้วยธีมของวันคุ้มครองโลกปี 2564 นี้คือ “ฟื้นฟูโลก(Restore Our Earth™)” เราขอยกประเด็นสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นและเปลี่ยนแปลงในช่วง 5-6 ปีที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน และปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้