All articles
-
“ไม่ควรชิน แม้จะเห็นทุกวัน” คุยกับคนดูหนังที่อยากให้ปัญหาพลาสติกเป็นจุดเริ่มบทสนทนา
PLASTIC PEOPLE หนังสารคดีเรื่องแรกพาเราเข้าไปเห็นชีวิตของมนุษย์ ที่รายล้อมด้วยพลาสติกในทุกช่วงจังหวะ ตั้งแต่สิ่งของที่หยิบจับ ไปจนถึงสิ่งแวดล้อมรอบตัวที่ดูราวกับว่าพลาสติกได้หลอมรวมกลายเป็นส่วนหนึ่งของร่างกายโดยไม่รู้ตัว เราคุ้นชินกับมันเสียจนลืมไปแล้วว่า พลาสติกไม่ได้เป็นเพียงสิ่งของอีกต่อไป แต่มันอยู่ในตัวเราแล้วจริงๆ
-
4 เหตุผลที่ตอบว่าทำไม Fast Fashion ไม่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ตลาดสินค้าจากแบรนด์ฟาสต์แฟชั่นกำลังขยายตัวอย่างมหาศาล ด้วยกลยุทธ์ด้านราคาที่ย่อมเยาว์ เสื้อผ้าออกแบบตามกระแส แต่ในอีกด้านหนึ่งโมเดลธุรกิจเช่นนี้สร้างความไม่ยั่งยืนให้กับสิ่งแวดล้อมและละเมิดสิทธิมนุษยชนร้ายแรง
-
แผนการลดการใช้พลาสติกสู่ความเป็นศูนย์ของ CP เดินหน้าแบบถอยหลัง
ในฐานะภาคเอกชน เครือเจริญโภคภัณฑ์ มีบทบาทสำคัญอย่างมากในการสนับสนุนให้ “สนธิสัญญาพลาสติกโลก” มีความเข้มแข็งและมีมาตรการที่มุ่งมั่นในการลดมลพิษพลาสติกได้จริง การปรับตัวของบริษัทเพื่อให้สอดคล้องกับแนวทาง “สนธิสัญญาพลาสติกโลก” จึงไม่ควรหยุดอยู่ที่การพัฒนาเทคโนโลยีรีไซเคิล หรือวัสดุทดแทนพลาสติกเท่านั้น แต่ต้องมุ่งไปที่การลดใช้พลาสติกตั้งแต่ต้นทาง ผ่านการสนับสนุนระบบเติม (Refill) และระบบใช้ซ้ำ (Reuse System) อย่างจริงจัง
-
ภาคประชาสังคมร่วมถอดบทสรุปจากการเจรจาสนธิสัญญาพลาสติกโลก พร้อมเน้นย้ำจุดยืนให้รัฐบาลไทยสนับสนุนสนธิสัญญาพลาสติกโลกที่เข้มแข็งในการประชุม INC5.2
กรุงเทพฯ, 11 กุมภาพันธ์ 2568 – กรีนพีซ ประเทศไทย (Greenpeace Thailand) มูลนิธิความยุติธรรมเชิงสิ่งแวดล้อม (Environmental Justice Foundation: EJF) และ มูลนิธิบูรณะนิเวศ (EARTH) จัดงานเสวนา “ไปกันต่อ INC-5.2: ยังไงดีสนธิสัญญาพลาสติกโลก” เพื่อนำเสนอข้อสรุป จุดยืนของประเทศไทย และข้อคิดเห็นจากการเจรจาสนธิสัญญาพลาสติกโลกครั้งที่ 5 (INC-5) ณ เมืองปูซาน เกาหลีใต้ พร้อมด้วยบทบาทของประเทศไทยในอนาคตในเวทีเจรจาสนธิสัญญาพลาสติกโลกครั้งที่…
-
5 ประเด็นสำคัญที่เราต้องรู้ จากการประชุมเจรจาสนธิสัญญาพลาสติกโลก ครั้งที่ 5 (INC5) ที่ปูซาน เกาหลีใต้
สรุปประเด็นสำคัญจากการประชุมเจรจาครั้งนี้มาให้ทุกคนได้ติดตาม รวมทั้งเหตุผลที่ว่าทำไมเราจึงยังไม่ได้สนธิสัญญาพลาสติกโลกที่ต้องการเสียที
-
ต้อนรับปีใหม่ 2568 พร้อมความสำเร็จในงานรณรงค์ของกรีนพีซ
เราขอขอบคุณผู้สนับสนุนกรีนพีซทุกคนที่เป็นคนสำคัญต่อความสำเร็จในการปกป้องสิ่งแวดล้อมและสิทธิมนุษยชนตลอดปี 2567 ที่ผ่านมา ตลอดปีกรีนพีซรณรงค์และมีความสำเร็จอะไรบ้างมาดูกันดีกว่า
-
คุยกับทีมวิจัย “ย่อย ไม่ย่อย ?” ตกลงแล้ว พลาสติกที่บอกเราว่า ย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ ย่อยจริงหรือเปล่า?
เราหยิบยกหนึ่งในข้อสงสัยของผู้บริโภคเกี่ยวกับ ‘ผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ที่ย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ’ ด้วยการทำงานร่วมกับทีมจากคณะเทคโนโลยีทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี ทำการทดลองว่า ผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์พลาสติกเหล่านี้จะย่อยสลายได้จริงหรือไม่
-
กรีนพีซระบุพลาสติกชีวภาพไม่ใช่ทางออกของการยุติวิกฤตมลพิษพลาสติก
กรุงเทพฯ, 21 ธันวาคม 2567- รายงานล่าสุด “Beyond the Label: Debunking the Biodegradable Plastic Myth” โดยกรีนพีซ ประเทศไทย ที่ศึกษาประสิทธิภาพด้านการย่อยของพลาสติกชีวภาพและความเป็นไปได้ในการแตกตัวเป็นไมโครพลาสติก ระบุผลิตภัณฑ์พลาสติกชีวภาพ หรือพลาสติกชนิดย่อยสลายได้ทางชีวภาพ (Biodegradable plastics) ไม่ใช่ทางออกของการยุติวิกฤตมลพิษพลาสติก
-
องค์กรสิ่งแวดล้อมชื่นชมรัฐบาลไทยออกกฎหมายห้ามนำเข้าขยะพลาสติกย้ำหลังจากนี้ต้องบังคับใช้อย่างจริงจัง
กระทรวงพาณิชย์ได้ออกประกาศกำหนดให้เศษพลาสติกภายใต้พิกัดศุลกากรประเภท 39.15 เป็นสินค้าที่ต้องห้ามนำเข้ามาในราชอาณาจักร นับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2568 เป็นต้นไป
-
Beyond the Label: Debunking the Biodegradable Plastic Myth
รายงาน “Beyond the Label: Debunking the Biodegradable Plastic Myth” เป็นรายงานที่นำเสนอผลการทดลองของผลิตภัณฑ์ที่มีการระบุว่าเป็นบรรจุภัณฑ์พลาสติกที่ใช้วัตถุดิบจากธรรมชาติและพลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพ ในการทดสอบเป็นการทดสอบประสิทธิภาพด้านการย่อยของบรรจุภัณฑ์และความเป็นไปได้ในการแตกตัวเป็นไมโครพลาสติก โดยจำแนกเป็น 1) อัตราการย่อยสลายของบรรจุภัณฑ์ที่ระบุว่าเป็นพลาสติกที่ย่อยสลายได้ทางชีวภาพ และ 2) ความหนาแน่นของจำนวนชิ้นส่วนขนาดเล็กที่หลุดรอดหรือแตกหักออกมาจากบรรจุภัณฑ์ที่ระบุว่าเป็นพลาสติกที่ย่อยสลายได้ทางชีวภาพ โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้