All articles
-
160 องค์กรภาคประชาสังคมเรียกร้องรัฐบาลไทยสนับสนุน“สนธิสัญญาพลาสติกโลก” ควบคุมการผลิต-ยุติมลพิษพลาสติกตลอดวงจรชีวิต
กรุงเทพฯ ประเทศไทย – วันที่ 13 พฤศจิกายน 2567 เวลา 10.00 น. ณ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มูลนิธิความยุติธรรมเชิงสิ่งแวดล้อม (EJF) มูลนิธิบูรณะนิเวศ (EARTH) กรีนพีซ ประเทศไทย (Greenpeace Thailand) และสมาคมแทรชฮีโร่ไทยแลนด์ (Trash Hero Thailand Association) ในฐานะตัวแทนองค์กรภาคประชาสังคมกว่า 160 องค์กร ยื่นแถลงการณ์ถึงรัฐมนตรีกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรียกร้องให้รัฐบาลไทยแสดงจุดยืนที่เข้มแข็งใน…
-
ยุติมลพิษพลาสติกแถลงการณ์จากภาคประชาสังคมต่อการเจรจาระหว่างรัฐบาลเพื่อจัดตั้ง “สนธิสัญญาพลาสติกโลก”
160 องค์กรภาคประชาสังคมและภาควิชาการเรียกร้องให้รัฐบาลไทยและรัฐบาลทั่วโลกจัดทำสนธิสัญญาพลาสติกโลกที่ทะเยอทะยาน ยุติมลพิษพลาสติกตลอดวงจรชีวิต คำนึงถึงสิ่งแวดล้อม สิทธิ และสุขภาพของมนุษย์เป็นหลัก
-
ข้อเสนอสู่เวทีเจรจาสนธิสัญญาพลาสติกโลก กับคำถามโค้งสุดท้าย: ผลิตและบริโภคพลาสติกอย่างไรถึงเรียกได้ว่ายั่งยืน?
หลังจากที่ได้มีการประชุมสมัชชาสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2565 และได้กำหนดให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการเจรจาระหว่างประเทศ (Intergovernmental Negotiating Committee – INC) เพื่อร่วมกันจัดทำมาตรการที่มีผลผูกพันทางกฎหมายว่าด้วยมลพิษพลาสติกรวมถึงสิ่งแวดล้อมในทะเล และได้ตกลงให้มี “สนธิสัญญาพลาสติกโลก” หรือ “Global Plastic Treaty” ขึ้น โดยกำหนดว่า สนธิสัญญานี้จะต้องครอบคลุมตลอดวงจรชีวิตพลาสติก และมีเป้าหมายส่งเสริมการผลิตและบริโภคพลาสติกในระดับที่ยั่งยืน จากนั้นได้จัดให้มีการประชุม INC เพื่อร่างสนธิสัญญาพลาสติกโลก โดยการประชุม INC ครั้งที่ 5 ที่ปูซาน…
-
อุบัติภัยอุตสาหกรรมปิโตรเคมีที่มาบตาพุดครั้งล่าสุดย้ำถึงความจำเป็นของสนธิสัญญาพลาสติกโลกในการลดการผลิตพลาสติกเพื่อปกป้องสภาพภูมิอากาศและยุติสารเคมีเป็นพิษเพื่อคุ้มครองสุขภาพของมนุษย์
ความเสี่ยงต่อสุขภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมจากมลพิษอุตสาหกรรมพลาสติกนั้นแตกต่างกันไป คนส่วนใหญ่ทั่วโลกจะรับสัมผัสอนุภาคพลาสติกและสารเคมีที่เกี่ยวข้องในหลายขั้นตอนของวงจรชีวิตของพลาสติก ในที่นี้ เราจะเปิดปูมให้เห็นถึงมลพิษจากอุตสาหกรรมพลาสติกพีวีซีในประเทศไทย
-
ความเป็นธรรมทางสิ่งแวดล้อมและสภาพภูมิอากาศที่ยังคงเลือนรางต่อไป ในคำแถลงนโยบายของรัฐบาลใหม่ต่อรัฐสภาวันที่ 12 กันยายน 2567
check list เปรียบเทียบ ข้อเสนอนโยบายสิ่งแวดล้อมที่รวบรวมจากการทำงานรณรงค์อย่างต่อเนื่องในช่วงหลายปีที่ผ่านมากับคำแถลงนโยบายของรัฐบาลต่อรัฐสภาในวันที่ 11 กันยายน 2566 โดยนายเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี และคำแถลงนโยบายของรัฐบาลต่อรัฐสภาในวันที่ 12 กันยายน 2567 โดยนางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรีคนล่าสุด
-
การเจรจาใน INC-5 ต้องเน้นการลดการผลิต โปร่งใสและรับฟังเสียงของภาคประชาสังคม
กรุงเทพฯ, ประเทศไทย -29 สิงหาคม 2567– หลังจากที่การประชุมระหว่างสมัย (Intersessional Work) ซึ่งจัดขึ้นก่อนหน้าการเจรจาสนธิสัญญาพลาสติกโลก (Global Plastic Treaty) ที่เป็นมาตรการด้านมลพิษพลาสติกและสิ่งแวดล้อมทางทะเล ที่มีผลผูกพันทางกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งจัดขึ้นที่กรุงเทพฯ ระหว่างวันที่ 24-28 สิงหาคม 2567 ได้จบลง สนธิสัญญานี้คือความหวังในการยุติวิกฤตมลพิษพลาสติก
-
ภาคประชาสังคมเรียกร้องให้ยุติการใช้ซองซาเช่ที่ก่อมลพิษในช่วงการเจรจาเกี่ยวกับสนธิสัญญาพลาสติกโลก
ผู้นำภาคประชาสังคมยังเรียกร้องความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมมากขึ้น ในการเจรจาสนธิสัญญาพลาสติกโลกที่กำลังจะถึง
-
กรีนพีซชี้นโยบายบรรจุภัณฑ์ยั่งยืนของเครือเจริญโภคภัณฑ์ (CP Group) ไม่เพียงพอในการต่อกรวิกฤตมลพิษพลาสติก
กรุงเทพฯ, 25 เมษายน 2567– กรีนพีซ ประเทศไทยแถลงวิพากษ์นโยบายบรรจุภัณฑ์ยั่งยืนของเครือเจริญโภคภัณฑ์ (CP Group) ระบุนโยบายดังกล่าวยังไม่เพียงพอในการต่อกรกับวิกฤตมลพิษพลาสติก แม้ว่าเครือเจริญโภคภัณฑ์จะอ้างว่ามีความก้าวหน้าในการดำเนินงาน แต่การดำเนินงานส่วนใหญ่กลับเน้นการจัดการพลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้งที่ปลายทาง ซึ่งไม่มีทางที่จะแก้ปัญหามลพิษพลาสติกที่ต้นเหตุ
-
CP’s Plastic Pollution Unmasked-บทวิพากษ์ของกรีนพีซต่อนโยบายบรรจุภัณฑ์ยั่งยืนของเครือเจริญโภคภัณฑ์
รายงาน “บทวิพากษ์ของกรีนพีซต่อนโยบายบรรจุภัณฑ์ยั่งยืนของเครือเจริญโภคภัณฑ์ (CP’s Plastic Pollution Unmasked) นี้ กรีนพีซ ประเทศไทยมุ่งประเมินนโยบายบรรจุภัณฑ์ที่ยั่งยืน (Sustainable Packaging Policy) ของ 2 บริษัทหลักในกลุ่มบริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์คือบริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด(มหาชน) หรือ CPALL ซึ่งครอบคลุมธุรกิจค้าปลีก-ส่งและร้านสะดวกซื้อที่สำคัญ