All articles
-
โลกในปี 2100 จะหน้าตาเป็นยังไง?
สองเพื่อนซี้ซันนี่และโฮเป็นคนรุ่นใหม่ที่มีความกระตือรือร้นและอยากใช้ชีวิตให้สุดที่สุด แต่ในปี 2100 ความสนุกของพวกเขาจะเป็นอย่างไรกัน? ขี่สกูตเตอร์ลอยฟ้าไปทั่วเมือง? นั่งดูเมนูอาหารในภัตตาคาร? หรือจะเป็นการตามรอยสิ่งมีชีวิตลึกลับตามชายทะเล?
-
เมื่อซีรีย์ the Last of US หยิบประเด็นเชื้ออุบัติใหม่จากภาวะโลกร้อนมาเล่าผ่านการแพร่ระบาดของเชื้อราคอร์ดีเซปส์
สิ่งที่น่าสนใจในซีรีย์คือการขยายเหตุผลความเป็นไปได้ในการแพร่ระบาดของเชื้อรากลุ่ม ‘คอร์ดีเซปส์’ (Cordyceps) โดยเฉพาะเชื้อราที่แพร่ระบาดในหมู่แมลงอย่างเช่น มด และเชื้ออาจจะแพร่สู่มนุษย์ด้วยปัจจัยเรื่อง ‘ภาวะโลกร้อน’
-
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกอาจต้องเจอสภาพอากาศหนาวสุดขั้วจนเป็นปกติ
ผู้เชี่ยวชาญระบุว่า เหตุการณ์สภาพอากาศหนาวสุดขั้วแบบนี้เป็นหนึ่งในสัญญาณที่บ่งบอกว่าโลกของเรากำลังอยู่ในวิกฤตสภาพภูมิอากาศที่รุนแรงถึงตายได้
-
โลกต้อนรับเราช่วงปีใหม่ด้วยเหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้ว
ในปีนี้สหรัฐอเมริกาต้องเผชิญกับสภาพอากาศเลวร้ายที่อาจไม่เป็นที่รู้จักมากนักนั่นคือ บอมบ์ ไซโคลน (Bomb Cyclone) รวมถึงล่าสุดที่แม้ว่าตอนนี้จะเป็นช่วงเวลาฤดูหนาวแต่ยุโรปกลับต้องเจอคลื่นความร้อน
-
A year in pictures : เล่าเรื่องผ่านรูป ปี 2565 ประเทศไทยเกิดอะไรขึ้นบ้าง
จากสถานการณ์น้ำมันรั่วระยอง ไปจนถึงการประชุม APEC ปี 2565 ประเทศไทยผ่านอะไรมาบ้าง มาดูกัน!
-
ภูมิภาคตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือกำลังเผชิญภัยพิบัติจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
ตอนนี้อุณหภูมิในภูมิภาคตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือเพิ่มขึ้นจากอุณหภูมิเฉลี่ยโลกถึงสองเท่า นั่นทำให้ระบบนิเวศ แหล่งที่อยู่อาศัยและวิถีชีวิตของผู้คนในอัลจีเรีย อียิปต์ เลบานอน โมรอคโค ตูนีเซียและสหรัฐอาหรับ อิมิเรต กำลังเผชิญกับผลกระทบของวิกฤตสภาพภูมิอากาศอย่างรุนแรง
-
ตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนืออุณหภูมิสูงขึ้นเป็นสองเท่าจากค่าเฉลี่ยโลก ส่งผลกระทบต่อชุมชนและระบบธรรมชาติทั่วทั้งภูมิภาค
รายงาน ‘ชีวิตที่เสี่ยงภัย : ผลกระทบจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศใน 6 ประเทศตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือ’ ของห้องปฏิบัติการวิจัยกรีนพีซที่มหาวิทยาลัย Exeter สหราชอาณาจักรระบุว่า ระบบนิเวศและผู้คนที่อาศัยอยู่ในอัลจีเรีย อียิปต์ เลบานอน โมรอคโค ตูนีเซีย และสาธารณรัฐอาหรับเอมิเรตส์กำลังพบกับผลกระทบจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศอย่างฉับพลัน
-
กลุ่มผู้รอดชีวิตจากพายุไต้ฝุ่นในฟิลิปปินส์ประท้วงเรียกร้องการชดเชยความเสียหายจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศในช่วงการประชุม COP27
หลังเหตุการณ์พายุไต้ฝุ่นโนรูพัดผ่านฟิลิปปินส์ เกษตรกรในตาร์ลักรวมกลุ่มกันเพื่อประท้วงร่วมกับนักกิจกรรมจากเครือข่าย Rice Watch Action Network และ กรีนพีซ ฟิลิปปินส์ เรียกร้องการชดเชยค่าเสียหาย เนื่องจากผลผลิตที่เสียหายในช่วงก่อนการประชุม COP27
-
เราอาจต้องเจอพายุอีกหลายลูก : เมื่อเอเชียต้องเจอภัยพิบัติจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศที่รุนแรงขึ้น
จากสถิติพายุหมุนเขตร้อนที่เกิดขึ้นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งแต่ปี ค.ศ.1979 - 2016 ระบุผลการวิเคราะห์ว่า ‘วิกฤตสภาพภูมิอากาศอาจทำให้พายุหมุนเขตร้อนที่เกิดในเอเชียมีความรุนแรงเพิ่มจากเดิมเท่าตัว’
-
เมื่อการทำลายป่าแอมะซอนทำให้วิกฤตสภาพภูมิอากาศเลวร้ายขึ้นไปอีก
ป่าแอมะซอนเสื่อมสภาพลงอย่างรวดเร็ว ปีนี้อัตราการตัดไม้ทำลายป่าตั้งแต่มกราคม-กรกฎาคมสูงที่สุดเท่าที่เคยมีมา จากข้อมูลของศูนย์วิจัยอวกาศแห่งชาติ บราซิล (INPE) เผยว่า พื้นที่ป่าในแอมะซอนถูกทำลายเป็นบริเวณกว้าง โดยพื้นที่ที่ถูกทำลายไปมีขนาดใหญ่กว่านครนิวยอร์กถึงห้าเท่า