All articles
-
การขุดเจาะก๊าซฟอสซิลเร่งเร้าวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
กระบวนการผลิตจนถึงการบริโภคก๊าซฟอสซิลที่ถูกตั้งชื่อให้ดูเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมว่า “ก๊าซธรรมชาติ” กลับส่งผลกระทบที่ไม่เป็นธรรมต่อชุมชนผู้มีรายได้น้อย กลุ่มชนเผ่าพื้นเมืองชาติพันธุ์ ทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับโลก
-
UN จัดประชุม CBD COP16 อีกครั้ง สรุปประเด็นกองทุนพิทักษ์ระบบนิเวศก่อนกำหนดมาตรการคุ้มครองธรรมชาติใหม่ให้ CBD COP17
คณะผู้แทนจากรัฐบาลจากหลายประเทศจะรวมประชุมเจรจาด้านความหลากหลายทางชีวภาพเป็นเวลา 3 วัน เพื่อหาข้อสรุปสุดท้ายเกี่ยวกับการขับเคลื่อนกองทุนพิทักษ์ระบบนิเวศ แม้จะมีความคืบหน้าในมาตรการการคุ้มครองความหลากหลายทางชีวภาพในการประชุม CBD (Convention on Biological Diversity) COP16 [1] เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2567 แต่เหตุการณ์การระงับประชุมในชั่วโมงสุดท้ายที่เกิดขึ้นที่โคลอมเบียสร้างความผิดหวังให้ทั้งพรรคการเมืองหลายพรรคและกลุ่มภาคประชาสังคม ข้อตกลงที่จะเกิดขึ้นในการเจรจาครั้งนี้จะต้องเป็นกองทุนที่รับประกันได้ว่าจะสามารถปกป้องและฟื้นฟูระบบนิเวศในช่วงหลายสิบปีข้างหน้าได้เท่าเทียมกัน
-
NDCs คืออะไร ทำไมจึงกลายเป็นหัวใจสำคัญของความตกลงปารีส
ภายใต้เงื่อนไขของความตกลงปารีส แต่ละประเทศจะต้องเผยแพร่และสื่อสารแผนปฏิบัติการด้านสภาพภูมิอากาศ และแผนการ NDCs เหล่านี้ควรมีรายละเอียดถึงความพยายามของแต่ละประเทศที่จะลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกระดับประเทศ (GHG) และแผนการรับมือกับผลกระทบจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
-
น่าห่วง ! หลายประเทศเมินกำหนดส่งแผนปฏิบัติการด้านสภาพภูมิอากาศปี 2578
ประเทศผู้ก่อมลพิษหลักบางประเทศพลาดกำหนดเส้นตายการส่ง ‘แผนการด้านสภาพภูมิอากาศ 2578’ ให้กับองค์การสหประชาชาติ (United Nations) ก่อนการประชุมสุดยอดด้านสภาพภูมิอากาศโลกครั้งที่ 30 (COP30) ที่จะเกิดขึ้นที่บราซิลในปีนี้
-
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์อุตสาหกรรมในลุ่มน้ำกกและลุ่มน้ำคำ เป็นหนึ่งในปัจจัยหลักของหายนะน้ำท่วมดินถล่มที่เชียงรายและอำเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่อย่างไร
ในบทวิเคราะห์นี้ เราเน้นไปที่การค้นหาความเชี่อมโยงว่าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์อุตสาหกรรมซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจที่เป็นสินค้าโภคภัณฑ์เพื่อส่งออก (Commodity-driven deforestation) เป็นหนึ่งในปัจจัยหลักของหายนะน้ำท่วมดินถล่มที่เชียงราย-เชียงใหม่หรือไม่อย่างไร?
-
รายงานล่าสุดของ GEM เผย “super-emitter” 23 เหตุการณ์เชื่อมโยงกับ 8 เหมืองถ่านหินระดับโลก
ในเดือนธันวาคม 2567 องค์กรติดตามพลังงานโลก หรือ Global Energy Monitor (GEM) เผยแพร่รายงานข้อมูลเกี่ยวกับการปล่อยก๊าซมีเทน (Methane) จากเหมืองถ่านหินทั่วโลก โดยเน้นการตรวจจับเหตุการณ์ที่เรียกว่า “super-emitter” ซึ่งหมายถึงการปล่อยก๊าซมีเทนในระดับสูงเกินกว่ามาตรฐานที่กำหนดโดยหน่วยงานคุ้มครองสิ่งแวดล้อมสหรัฐฯ (Environment Protection Agency: EPA) จากแหล่งที่สามารถระบุได้อย่างชัดเจน
-
โลกยังมีหวัง ! : รวมชัยชนะด้านสิ่งแวดล้อมทั่วโลกในปี 2567
นี่คือชัยชนะด้านสิทธิและสิ่งแวดล้อมจากทั่วโลกในปี 2024 ที่เป็นแรงบันดาลใจให้เรายังคงรณรงค์เพื่อปกป้องสิ่งแวดล้อมต่อไป
-
กรีนพีซ ประณามทรัมป์หลังตั้งใจถอน สหรัฐอเมริกา ออกจากความตกลงปารีส
หลัง ประธานาธิบดี โดนัล ทรัมป์ ประกาศเจตจำนงถอดถอนสหรัฐอเมริกาออกจากความตกลงปารีส (the Paris Agreement)
-
จะเกิดอะไรขึ้นถ้าชะลอไม่ให้โลกร้อนเกิน 1.5 °C
ภาวะโลกเดือดที่เรากำลังเจอทำให้ปัจจุบันมีอุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกสูงขึ้น 1.3องศาเซลเซียสเมื่อเทียบกับยุคก่อนปฏิวัติอุตสาหกรรม (เทียบกับอุณหภูมิในช่วงระหว่างปี ค.ศ.1805 กับ 1900 ) และระดับน้ำทะเลทั่วโลกก็สูงขึ้น 20 เซนติเมตร
-
“ปีนรก” : ความเห็นจากจากกรีนพีซเกี่ยวกับปีที่ร้อนที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็นปีแรกที่เกินขีดจำกัดโลกเดือด 1.5°C
จากการตอบสนองต่อรายงานสรุปสภาพภูมิอากาศโลกปี 2567 โดยองค์การอุตุนิยมวิทยาโลก (WMO), Copernicus, Met Office, NASA และองค์กรติดตามสภาพภูมิอากาศอื่น ๆ ซึ่งพบว่ามีสภาพอากาศสุดขั้วแบบใหม่เกิดขึ้นในปี 2567 รายงานสรุปว่าปีดังกล่าวเป็นปีที่ร้อนที่สุดในประวัติศาสตร์การบันทึก