All articles
-
กรีนพีซร่วมกับเครือข่ายชุมชนเรียกร้องรัฐบาลแพทองธารหยุดฟอกเขียวให้กับยักษ์ใหญ่คาร์บอน
เครือข่ายประชาชนเสริมสร้างความเป็นธรรมทางสภาพภูมิอากาศและหยุดคาร์บอนเครดิตยื่นจดหมายเปิดผนึกถึงเลขาธิการบริหารกรอบอนุสัญญาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (UNFCCC Executive Secretary) ระบุ การเงินด้านสภาพภูมิอากาศ (Climate Finance) ต้องยึดหลักความรับผิดชอบทางประวัติศาสตร์ในการก่อโลกเดือดของกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมร่ำรวย
-
วัวเรอไม่ใช่เรื่องตลก : ก๊าซมีเทนจาก เรอ ตด และมูลในอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์กำลังทำให้สภาพภูมิอากาศวิกฤต
ถ้าถามว่าเรารู้จักก๊าซมีเทนไหม? หลายคนน่าจะรู้จักก๊าซชนิดนี้ว่าเป็นก๊าซจากตดและเรอของวัว นอกจากนี้ ก๊าซมีเทนยังถูกปลดปล่อยจากการเลี้ยงสัตว์ มูลวัว และการย่อยอาหาร ซึ่งการปลดปล่อยก๊าซมีเทนนี้เคยเป็นประเด็นรณรงค์จากหนึ่งในศิลปินชื่อดังอย่าง the Beatles โดยเป็นผู้สนับสนุนสำคัญในด้านการรณรงค์ด้านสิ่งแวดล้อมที่กระจายประเด็นนี้สู่สาธารณะให้ตระหนักรู้
-
ชะลอโลกเดือด: การยุติภาวะฉุกเฉินด้านสภาพภูมิอากาศด้วยอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์และนม
การเลิกใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งในการต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ แต่เพียงแค่ฟอสซิลอย่างเดียวยังไม่เพียงพอ หากเราต้องการหยุดภาวะฉุกเฉินด้านสภาพภูมิอากาศที่เกิดจากอุณหภูมิของโลกที่สูงขึ้น เราจำเป็นต้องจำกัดการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์และนมอย่างเร่งด่วน
-
สรุปเนื้อหารายงาน ชะลอโลกเดือด: การยุติภาวะฉุกเฉินด้านสภาพภูมิอากาศด้วยอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์และนม
รายงานของกรีนพีซ นอร์ดิก “ชะลอโลกเดือด: การยุติภาวะฉุกเฉินด้านสภาพภูมิอากาศด้วยอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์และนม” เผยให้เห็นเป็นครั้งแรกว่าเราสามารถชะลอการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกได้ หากรัฐบาลมีความมุ่งมั่นในการลดการผลิตที่ล้นเกินจากอุตสาหกรรมปศุสัตว์ และเปลี่ยนผ่านสู่ระบบอาหารที่เป็นธรรมและยั่งยืน
-
ซูเปอร์มาเก็ตในป่าชุมชน
“ถ้ามีโครงการเหมืองถ่านหิน พวกเราจะไปอยู่ที่ไหน? เรากินอยู่กับป่า เรารักษาป่า เพราะป่าคือชีวิตเรา เราไม่เชื่อหรอกว่าการมีเหมืองถ่านหินพวกเราจะรวย เราจะตายต่างหาก”
-
มองน้ำท่วมในมุม Climate Injustice เมื่อกลุ่มคนที่ปล่อยคาร์บอนน้อยสุดต้องรับแบกรับผลจากภัยพิบัติจากโลกเดือดมากที่สุด
ข้อถกเถียงสำคัญที่เกิดขึ้นในขณะนี้คือสภาวะน้ำท่วมฉับพลัน ดินถล่มและโคลนที่ตามมาจากมวลน้ำที่ไหลมาจากพื้นที่ภูเขา ในสายตาของสังคมพุ่งไปยังชุมชนคนกับป่าที่อาศัยอยู่บนดอยว่าเป็นต้นเหตุของการทำลายป่า อย่างไรก็ตาม สภาพภูมิอากาศสุดขั้วที่ทำให้หลายพื้นที่ประเทศไทยกำลังเผชิญกับพายุรุนแรงและน้ำท่วมครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์นั้นไม่ได้มีที่มาเพียงแค่การหายไปของพื้นที่ป่าไม้ แต่ยังเป็นผลของการก่อก๊าซเรือนกระจกมหาศาลและอย่างยาวนานของอุตสาหกรรมหลายภาคส่วน
-
อุบัติภัยอุตสาหกรรมปิโตรเคมีที่มาบตาพุดครั้งล่าสุดย้ำถึงความจำเป็นของสนธิสัญญาพลาสติกโลกในการลดการผลิตพลาสติกเพื่อปกป้องสภาพภูมิอากาศและยุติสารเคมีเป็นพิษเพื่อคุ้มครองสุขภาพของมนุษย์
ความเสี่ยงต่อสุขภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมจากมลพิษอุตสาหกรรมพลาสติกนั้นแตกต่างกันไป คนส่วนใหญ่ทั่วโลกจะรับสัมผัสอนุภาคพลาสติกและสารเคมีที่เกี่ยวข้องในหลายขั้นตอนของวงจรชีวิตของพลาสติก ในที่นี้ เราจะเปิดปูมให้เห็นถึงมลพิษจากอุตสาหกรรมพลาสติกพีวีซีในประเทศไทย
-
ความเป็นธรรมทางสิ่งแวดล้อมและสภาพภูมิอากาศที่ยังคงเลือนรางต่อไป ในคำแถลงนโยบายของรัฐบาลใหม่ต่อรัฐสภาวันที่ 12 กันยายน 2567
check list เปรียบเทียบ ข้อเสนอนโยบายสิ่งแวดล้อมที่รวบรวมจากการทำงานรณรงค์อย่างต่อเนื่องในช่วงหลายปีที่ผ่านมากับคำแถลงนโยบายของรัฐบาลต่อรัฐสภาในวันที่ 11 กันยายน 2566 โดยนายเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี และคำแถลงนโยบายของรัฐบาลต่อรัฐสภาในวันที่ 12 กันยายน 2567 โดยนางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรีคนล่าสุด
-
6 ข้อสุดช็อก ที่เรายังไม่รู้เกี่ยวกับเหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้ว
เหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้วเป็นสัญญาณเตือนที่ชัดเจนว่ากำลังคุกคามชีวิตของเราอย่างรุนแรง และชุมชนที่ได้รับผลกระทบต้องพร้อมที่จะเผชิญและรับมือกับความเสียหายเหล่านี้
-
จดหมายเปิดผนึกถึงรัฐบาล ในภูมิภาคเอเชีย เรียกร้องให้รัฐบาลทุกประเทศในภูมิภาคเอเชีย ยุติการใช้ถ่านหินให้ได้ก่อนหรือภายในปี 2578
พวกเราในฐานะขององค์กรภาคประชาสังคม และเครือข่ายที่ทำงานขับเคลื่อนความเป็นธรรมทางสภาพภูมิอากาศ ขอเรียกร้องให้รัฐบาลทุกประเทศในภูมิภาคเอเชีย ยุติการใช้ถ่านหินให้ได้ก่อนหรือภายในปี 2578 โดยการยุติโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินและโครงการเหมืองถ่านหินใหม่ทั้งหมดทันที และการจัดทำแผนปฏิบัติการปลดระวางถ่านหินที่เป็นธรรม