All articles by จริยา เสนพงศ์
-
การนำเข้าก๊าซฟอสซิล ที่ประชาชนจำต้องแบกภาระค่าไฟฟ้าตลอดชีพ?
กลุ่มทุนก๊าซฟอสซิลยังเดินหน้านำเข้า LNG มาผลิตไฟฟ้าเพื่อความมั่นคงทางพลังงานของใคร?
-
วันพิพากษาตือโละปาตานี : จากยุติโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินเทพาสู่การประกาศยุทธศาสตร์การพัฒนาที่ยั่งยืน
การต่อสู้เพื่อหยุดโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินเทพา ยาวนานมากกว่า 5ปีของชาวบ้านพื้นที่จังหวัดสงขลาและปัตตานีเพื่อปกป้องฐานทรัพยากรร่วมกันของควน ป่า นา เล กลายเป็นอีกตำนานสำคัญของการเปลี่ยนผ่านพลังงาน
-
ทำไมค่าไฟจะไม่พุ่ง เมื่อคนไทยต้องจ่ายค่าไฟที่ไม่ได้ใช้ ?
เราควรบันทึกไว้ว่าค่าเอฟทีหรือค่าไฟฟ้าผันแปรในประเทศไทยได้พุ่งขึ้นสูงสุดในรอบ 30 ปีในนี้ ส่งผลให้ค่าไฟพุ่งสูงแตะ 4.77 บาทต่อหน่วยในเดือนเมษายน 2566
-
กะเบอะดิน กลุ่มชาติพันธุ์และอนาคตผู้ลี้ภัยทางสิ่งแวดล้อม?
การสะสมมลพิษจากโครงการเหมืองถ่านหินอมก๋อยจะส่งผลโดยตรงต่อชุมชนกะเบอะดินทั้งด้านเศรษฐกิจ สุขภาพและวิถีของชนพื้นเมือง
-
COP 27 ความสูญเสียและความเสียหายที่ผู้ก่อมลพิษต้องรับผิดชอบ
แม้ว่าการประชุม COP27 จะมีมติตกลงจัดตั้งกองทุนชดเชยควาสูญเสียและเสียหาย เพื่อสนับสนุนเงินให้กับกลุ่มประเทศกำลังพัฒนาที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศ แต่เรายังคงต้องจับตาการดำเนินกองทุนนี้ต่อไปว่าผู้ก่อมลพิษจะร่วมรับผิดชอบอย่างไร
-
ภูเขาขยะ โรงไฟฟ้าขยะ และวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
ไทยจะมุ่งหน้าสู่การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้อย่างไร ในเมื่อทิศทางพลังงานของประเทศยังมุ่งเน้นไปที่การใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจกมหาศาล ยิ่งไปกว่านั้นยังมุ่งการจัดการขยะด้วยการเผา?
-
ค่าไฟฟ้า แผนพีดีพี ความเป็นธรรมที่ยากจะทำจริงหรือ?
“แผนพีดีพี(PDP)” เป็นคำย่อของ Power Development Plan หรือ “แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้า” การผลิตไฟฟ้าทุกกิโลวัตต์เข้าระบบสายส่งของประเทศจึงอยู่ภายใต้ “พีดีพี” ที่โยงใยวิถีชีวิตของเราในฐานะผู้บริโภคกับภาระค่าใช้จ่ายทั้งต้นทุนเชื้อเพลิงและต้นทุนสุขภาพ
-
หากทำตามสัญญาที่ COP26 รัฐบาลต้องกล้าปลดระวางถ่านหิน
ถ้อยแถลงของผู้นำประเทศใน World Leader Summit ณ COP26 ที่กลาสโกว์ เมื่อวันที่ 1-2 พฤศจิกายน 2564 ที่ผ่านมา สะท้อนเบื้องหลังของนโยบายและมาตรการที่เกิดขึ้นจริงของแต่ละประเทศได้เป็นอย่างดี ถ้อยแถลงบนเวทีโลกอาจกลายเป็นเพียงสัญญาที่ว่างเปล่าหากการลงมือทำจริงกลับสวนทาง
-
ทุนทหารผูกขาดพลังงาน มรดกรัฐประหารของ คสช.
การผูกขาดและการลดทอนธรรมาภิบาลระบบพลังงานของประเทศไทยที่ยังฝังรากลึกนั้น
-
งบประมาณซื้อเรือดำน้ำ 2 ลำ ติดตั้งโซลาร์รูฟท็อปให้บ้านเรือนที่มีรายได้น้อย โรงเรียนและโรงพยาบาลของรัฐได้เท่าไร?
หากเราใช้งบประมาณซื้อเรือดำน้ำมาลงทุนติดตั้งระบบโซลาร์รูฟท็อป สังคมไทยจะได้ประโยชน์อย่างไรบ้าง