All articles
-
ต้อนรับปีใหม่ 2568 พร้อมความสำเร็จในงานรณรงค์ของกรีนพีซ
เราขอขอบคุณผู้สนับสนุนกรีนพีซทุกคนที่เป็นคนสำคัญต่อความสำเร็จในการปกป้องสิ่งแวดล้อมและสิทธิมนุษยชนตลอดปี 2567 ที่ผ่านมา ตลอดปีกรีนพีซรณรงค์และมีความสำเร็จอะไรบ้างมาดูกันดีกว่า
-
อุบัติภัยอุตสาหกรรมปิโตรเคมีที่มาบตาพุดครั้งล่าสุดย้ำถึงความจำเป็นของสนธิสัญญาพลาสติกโลกในการลดการผลิตพลาสติกเพื่อปกป้องสภาพภูมิอากาศและยุติสารเคมีเป็นพิษเพื่อคุ้มครองสุขภาพของมนุษย์
ความเสี่ยงต่อสุขภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมจากมลพิษอุตสาหกรรมพลาสติกนั้นแตกต่างกันไป คนส่วนใหญ่ทั่วโลกจะรับสัมผัสอนุภาคพลาสติกและสารเคมีที่เกี่ยวข้องในหลายขั้นตอนของวงจรชีวิตของพลาสติก ในที่นี้ เราจะเปิดปูมให้เห็นถึงมลพิษจากอุตสาหกรรมพลาสติกพีวีซีในประเทศไทย
-
ความเป็นธรรมทางสิ่งแวดล้อมและสภาพภูมิอากาศที่ยังคงเลือนรางต่อไป ในคำแถลงนโยบายของรัฐบาลใหม่ต่อรัฐสภาวันที่ 12 กันยายน 2567
check list เปรียบเทียบ ข้อเสนอนโยบายสิ่งแวดล้อมที่รวบรวมจากการทำงานรณรงค์อย่างต่อเนื่องในช่วงหลายปีที่ผ่านมากับคำแถลงนโยบายของรัฐบาลต่อรัฐสภาในวันที่ 11 กันยายน 2566 โดยนายเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี และคำแถลงนโยบายของรัฐบาลต่อรัฐสภาในวันที่ 12 กันยายน 2567 โดยนางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรีคนล่าสุด
-
กว่า 12,000 รายชื่อ ยื่นเสนอร่างกฎหมาย PRTR ขอนายกเศรษฐา อย่าปัดตก
ตัวแทนจากมูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม มูลนิธิบูรณะนิเวศ กรีนพีซ ประเทศไทย และภาคีเครือข่ายภาคประชาชน ยื่นรายชื่อประชาชน 12,165 รายชื่อ เพื่อเสนอร่างพระราชบัญญัติการรายงานและเปิดเผยข้อมูลการปล่อยและเคลื่อนย้ายสารมลพิษ พ.ศ…. (ร่างกฎหมาย PRTR)
-
สิทธิในการอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี ต้องมีกฎหมาย PRTR
มูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม มูลนิธิบูรณะนิเวศ กรีนพีซ ประเทศไทย และชมรมนักข่าวสิ่งแวดล้อม จัดงานเสวนาในหัวข้อ “สิทธิในการอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี ต้องมีกฎหมาย PRTR” ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร (BACC) เพื่อสื่อสารให้เห็นถึงความสำคัญและความจำเป็นที่ประเทศต้องมีกฎหมาย PRTR ( เพราะการอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดีเป็นสิทธิของประชาชนทุกคน ตามที่คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ได้ลงมติเห็นชอบและประกาศไว้เมื่อเดือนตุลาคม 2564 ว่าสิทธิในสิ่งแวดล้อมที่ดี คือสิทธิมนุษยชน
-
โรงกลั่นน้ำมัน โรงไฟฟ้าก๊าซฟอสซิล โรงงานอุตสาหกรรม : ต้นตอฝุ่นพิษที่ถูกลืม ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลภาคประชาสังคมเสนอรัฐบาลจัดการกับผู้ก่อมลพิษรายใหญ่ และผ่านกฎหมายการรายงานและเปิดเผยข้อมูลการปล่อยและ เคลื่อนย้ายสารมลพิษ (PRTR)
ภาคประชาสังคมนำโดยมูลนิธิบูรณะนิเวศ เครือข่ายพลังงานเพื่อนิเวศวิทยาแม่น้ำโขง(MEENet) Thai Climate Justice for All (TCJA) สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา (LDI) มูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม (EnLaw) และกรีนพีซ ประเทศไทย (Greenpeace Thailand) เปิดเวทีสาธารณะที่ SEA Junction หอศิลปะวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร เพื่อนำเสนอข้อมูลและบทเรียนจากเมืองใหญ่ในไทยและต่างประเทศ ผลสำรวจแหล่งกำเนิดมลพิษทางอากาศขนาดใหญ่จากอุตสาหกรรมที่ถูกละเลย และข้อเสนอทางออกจากวิกฤต
-
กรีนพีซเชิญชวนประชาชนร่วมลงชื่อสนับสนุนกฎหมาย PRTR
กรีนพีซเชิญชวนประชาชนร่วมลงชื่อสนับสนุนกฎหมาย PRTR
-
เพ็ญโฉม แซ่ตั้ง : เมื่อไม่มีฐานข้อมูลมลพิษ ไทยก็แก้ไขปัญหามลพิษอากาศแบบตาบอดคลำช้าง
ฐานข้อมูลมลพิษสำคัญอย่างไร ทำไมหากไม่มีกฎหมาย PRTR ประเทศไทยถึงไม่มีวันแก้ไขปัญหามลพิษอากาศได้
-
ศาลปกครองพิพากษาคดี PM2.5 สั่งให้กระทรวงอุตสาหกรรมจัดทำ PRTR
ศาลปกครองมีคำพิพากษาให้กระทรวงอุตสาหกรรมโดยรัฐมนตรีว่าการ จัดทำทำเนียบการปลดปล่อยและเคลื่อนย้ายมลพิษ (Pollutant Release and Transfer Register) หรือเรียกว่า PRTR ภายใน 60 วัน
-
ไทยมีโรงงานกว่า 73,509 โรง รัฐต้องหยุดปกปิดข้อมูลมลพิษ ควบคุมโรงงานอุตสาหกรรมอย่างจริงจัง (สักที!)
ข้อมูลคือพลัง กฎหมาย PRTR จะทำให้ประชาชนรู้ทั้งชนิดและปริมาณสารเคมีที่ปล่อยออกมา ถึงเวลาแล้วที่รัฐต้องควบคุมโรงงานอุตสาหกรรมอย่างจริงจัง