All articles by รัตนศิริ กิตติก้องนภางค์
-
ชนพื้นเมือง ไร่หมุนเวียน และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์: คุยกับจำเลยการเผา พฤ โอโดเชา
ชนพื้นเมืองชาติพันธุ์มักถูกวางไว้ในบริบทจำเลยของสังคมในประเด็นปัญหาการเผาและการทำลายป่า เช่น การตีตรา “ชาวเขาเผาป่า” เพื่อทำไร่เลื่อนลอยว่าเป็นสาเหตุสำคัญของมลพิษทางอากาศและป่าไม้ที่หายไปของภาคเหนือ ทว่าคำกล่าวนี้มีข้อเท็จจริงเช่นไร หรือเป็นเพียงอคติของสังคมต่อคนชายขอบที่มีความเป็นอื่นอย่างกลุ่มชนพื้นเมืองชาติพันธุ์
-
2565 อาหารแพง ป่าและความหลากหลายทางชีวภาพที่ถูกคุกคาม
ในปี 2565 ดูเหมือนว่าสถานการณ์ในระบบอาหารปีนี้จะยังมีหลายสัญญาณที่น่ากังวลและการเปลี่ยนแปลงที่น่าจับตามอง สิ่งที่เราต้องคิดหลังจากนี้คือเราจะเลือกเรียนรู้สิ่งเหล่านี้และกำหนดทิศทางระบบอาหารของโลกอย่างไรในปีหน้าและปีต่อ ๆ ไป
-
คนบนดอย ฝุ่นควัน คนเมือง: คุยกับดร.ชยันต์ วรรธนะภูติ ผู้เป็นปากเสียงให้กับชนพื้นเมือง
คนบนดอยเผาป่าเผาไร่ คนเมืองจึงเดือดร้อน คำกล่าวเช่นนี้มักเกิดขึ้นเสมอในช่วงฤดูกาลที่หมอกควันปกคลุมพื้นที่ภาคเหนือตอนบน ทว่าแนวคิดนี้มีข้อเท็จจริงเป็นอย่างไร
-
เงียบซะ ราเชล คาร์สัน! เพราะเธอเป็นแค่ผู้หญิง
หนังสือ Silent Spring ของ ราเชล คาร์สัน กลายเป็นหนึ่งในหนังสือสำคัญที่สร้างประวัติศาสตร์ในการเคลื่อนไหวทางสิ่งแวดล้อม ปัญหาสำคัญที่เธอได้เปิดโปงในหนังสือคือ ความอันตรายร้ายแรงของสารดีดีที
-
ทำไมข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ไม่ต้องเสียภาษีนำเข้า ชวนตั้งคำถามกับ วิทยา ครองทรัพย์ สภาลมหายใจภาคเหนือ
ตั้งแต่ปี 2550 กรรมการหอการค้าจังหวัดเชียงใหม่ทุกชุด ได้พยายามแก้ไขปัญหาฝุ่นควันของจังหวัดทุกปี ให้การสนับสนุนด้านปัจจัยเงินให้เจ้าหน้าที่ภาครัฐ ช่วยระดมทุนบริจาค แต่ในช่วงหลังมีแต่ปัญหาซ้ำ ๆ “การช่วยเหลือของเราแทบจะไม่เกิดประโยชน์ รัฐมองภัยที่เกิดขึ้นเป็นเหมือนไฟไหม้ข้างบ้าน แค่มาช่วยดับ”
-
แม่แจ่ม ข้าวโพด หมอกควัน และบริษัทอาหารสัตว์รายใหญ่
ในวันที่ภาคเหนือตอนบนถูกปกคลุมไปด้วยฝุ่นควัน กรีนพีซได้ไปพูดคุยกับหนึ่งในคณะกรรมการแก้ไขปัญหาหมอกควันเชียงใหม่ ผู้ประสานงานแม่แจ่มโมเดลพลัส และผู้อำนวยการสถาบันอ้อผญา (องค์กรสถานประโยชน์) คุณสมเกียรติ มีธรรม ที่อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ถึงปัญหาหมอกควันข้ามพรมแดน การชิงเผา และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
-
IPCC: ระบบอาหารเน้นพืชผักและปกป้องผืนป่า คือทางออกของวิกฤตโลกร้อน “Now or Never”
คำเตือนก่อนสายเกินแก้ของรายงาน IPCC ฉบับที่สาม ระบุว่า ยุทธศาสตร์ในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอย่างเร่งด่วน คือการยุติพลังงานฟอสซิล และที่สำคัญตามมาคือ เปลี่ยนระบบอาหารเนื้อสัตว์และนมที่มีส่วนในการปล่อยก๊าซเรือนกระจกถึงหนึ่งในสาม
-
สงครามและความเปราะบางของระบบอาหารเชิงอุตสาหกรรม
สงครามรัสเซีย-ยูเครนนอกจากจะสร้างแต่ความสูญเสียมหาศาลต่อชาวยูเครนแล้ว ยังส่งผลกระทบในวงกว้างต่อระบบอาหารของโลกที่พึ่งพาการผลิตเชิงอุตสาหกรรมและพึ่งพาเชื้อเพลิงฟอสซิล นานาประเทศกำลังกังวลถึงภาวะขาดแคลนอาหารที่อาจเกิดขึ้น หากรัสเซียไม่หยุดยั้งสงครามในเดือนเมษายน
-
เนื้อเทียม ≠ ดีต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพเสมอไป
แน่นอนว่าการผลิตและบริโภคเนื้อสัตว์ในระบบอาหารแบบอุตสาหกรรมนั้นส่งผลเสียต่อระบบนิเวศ คุณภาพชีวิตของสัตว์ รวมถึงผู้บริโภคและเกษตรกรอย่างใหญ่หลวง แล้วเนื้อสัตว์ทางเลือกอย่างเนื้อสัตว์จากพืช หรือ “เนื้อเทียม” ล่ะ ในแง่ของสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างไร
-
COP26 ควรจะให้ความสำคัญกับการลดการลงทุนอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์
แม้ว่า COP26 ที่กลาสโกว์ จะไม่ได้กำหนดให้อุตสาหกรรมเนื้อสัตว์เป็นหนึ่งใน 4 เป้าหมายที่ต้องการให้เกิดเป็นรูปธรรม แต่การที่อุตสาหกรรมเนื้อสัตว์มีส่วนในการปล่อยก๊าซเรือนกระจกมากถึงร้อยละ 19 ของการปล่อยเรือนกระจกทั้งหมดทั่วโลกตามข้อมูลล่าสุดของรายงาน IPCC เราจะมาสำรวจประเด็นดังกล่าวนี้กัน