All articles
-
พูดคุยกับสมเกียรติ มีธรรม: ระบบตรวจสอบย้อนกลับข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เพราะเหตุใดถึงเกิดขึ้นอย่างโปร่งใสทั้งระบบได้ยาก
กรีนพีซพูดคุยกับ คุณสมเกียรติ มีธรรม ผู้อำนวยการสถาบันอ้อผญา(องค์กรสาธารณประโยชน์) และอดีตผู้ประสานงานแม่แจ่มโมเดลพลัส อีกครั้ง ถึงข้อเท็จจริงของสถานการณ์ในพื้นที่ไร่ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ภาคเหนือตอนบน ตลอดจนรายละเอียดของกระบวนกวนตลอดห่วงโซ่อุปทาน
-
รายงานกรีนพีซ ชี้ ปี 2567 พบร่องรอยการเผาไหม้ในพื้นที่เพาะปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงกว่า 3.7 ล้านไร่ เรียกร้องให้หยุดฟอกเขียวระบบตรวจสอบย้อนกลับ
กรีนพีซ ประเทศไทย เปิดเผยผลการวิเคราะห์ภาพจากดาวเทียมระบุร่องรอยเผาไหม้ในพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เชิงอุตสาหกรรม 3,762,728.63 ไร่ ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงช่วงปี 2567 ชี้ระบบตรวจสอบย้อนกลับที่อ้างโดยอุตสาหกรรมเกษตรและเนื้อสัตว์เพื่อต่อกรกับวิกฤตฝุ่นพิษข้ามแดนยังเป็นเพียงเครื่องมือฟอกเขียว
-
การติดตามการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน ร่องรอยพื้นที่เผาไหม้และจุดความร้อน จากภาพดาวเทียม ปีพ.ศ. 2567 ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ําโขง (ตอนบนของประเทศไทย, ตอนบนของ สปป.ลาว และรัฐฉานของเมียนมา)
ไม่นานมานี้ปัญหาหมอกควันในพื้นที่อนุภูมิภาคลุ่มน้ําโขงได้ทวีความรุนแรงมากขึ้นโดยเฉพาะในช่วงปี พ.ศ.2558 และ พ.ศ.2562 และได้มีการสันนิษฐานถึงสาเหตุของปัญหาที่ทําให้ระดับความรุนแรงของปัญหาดังกล่าวมีระดับความรุนแรงขึ้น คือ การปลูกข้าวโพดภายใต้ระบบเกษตรพันธะสัญญาทั้งประเทศไทย เมียนมา และ สปป.ลาว ซึ่งทําให้เกิดปัญหาหมอกควันข้ามพรมแดนยิ่งทวีความรุนแรงมากขึ้น
-
ไทยติดอันดับ 6 ประเทศที่มีคุณภาพอากาศแย่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตามรายงาน IQAir ปี 2567
ตามรายงานคุณภาพอากาศโลกประจำปี 2567 โดย IQAir ประเทศไทยถูกจัดให้อยู่ในอันดับที่ 6 จาก 9 ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีคุณภาพอากาศแย่ที่สุด
-
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์อุตสาหกรรมในลุ่มน้ำกกและลุ่มน้ำคำ เป็นหนึ่งในปัจจัยหลักของหายนะน้ำท่วมดินถล่มที่เชียงรายและอำเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่อย่างไร
ในบทวิเคราะห์นี้ เราเน้นไปที่การค้นหาความเชี่อมโยงว่าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์อุตสาหกรรมซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจที่เป็นสินค้าโภคภัณฑ์เพื่อส่งออก (Commodity-driven deforestation) เป็นหนึ่งในปัจจัยหลักของหายนะน้ำท่วมดินถล่มที่เชียงราย-เชียงใหม่หรือไม่อย่างไร?
-
กรีนพีซระบุ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์อุตสาหกรรมเป็นหนึ่งในปัจจัยหลักของน้ำท่วมดินถล่มในเขตลุ่มน้ำกกในเขตจังหวัดเชียงรายและอำเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่
กรีนพีซ ประเทศไทยเปิดผลการวิเคราะห์ ชี้ให้เห็นว่า การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไม้เป็นพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์อุตสาหกรรมมีผลต่อการเพิ่มขึ้นของ ความเสี่ยงน้ำท่วมดินถล่มในพื้นที่จังหวัดเชียงรายและพื้นที่อำเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่
-
จะเกิดอะไรขึ้นถ้าชะลอไม่ให้โลกร้อนเกิน 1.5 °C
ภาวะโลกเดือดที่เรากำลังเจอทำให้ปัจจุบันมีอุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกสูงขึ้น 1.3องศาเซลเซียสเมื่อเทียบกับยุคก่อนปฏิวัติอุตสาหกรรม (เทียบกับอุณหภูมิในช่วงระหว่างปี ค.ศ.1805 กับ 1900 ) และระดับน้ำทะเลทั่วโลกก็สูงขึ้น 20 เซนติเมตร
-
รายงาน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไม้เป็นพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่มีต่อปริมาณน้ำท่า (runoff) พื้นที่เสี่ยงน้ำท่วม (flood risk areas) และพื้นที่เสี่ยงดินโคลนถล่ม (landslide risk areas) บริเวณพื้นที่ลุ่มน้ำติดต่อระหว่างประเทศไทย เมียนมา และสปป.ลาว
งานวิจัยของกรีนพีซ ร่วมกับคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ศึกษาถึงความเชื่อมโยงของการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไปเป็นพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในบริเวณลุ่มน้ำกก(Nam Mae Kok Basin) และลุ่มน้ำคำ (Nam Mae Kham Basin) บริเวณรอยต่อระหว่างประเทศไทยตอนบน รัฐฉานของเมียนมาและสปป.ลาว โดยวิเคราะห์ผลการเพิ่มขึ้นของพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลียงสัตว์ การเปลี่ยนพื้นที่ป่าไปเป็นพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไม้เป็นพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่มีต่อปริมาณน้ำท่า (runoff) พื้นที่เสี่ยงน้ำท่วม (flood risk areas) และพื้นที่เสี่ยงดินโคลนถล่ม (landslide risk areas)
-
ทำไมการชดเชยคาร์บอน (Offsets) และการลดคาร์บอนแบบอินเซ็ต (Insets) ถึงไม่ใช่ทางออกของวิกฤตโลกเดือด
นี่คือกลอุบายและกลยุทธ์นานัปการที่บริษัทอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์นมรายใหญ่ใช้ฟอกเขียวความพยายามที่จะบรรเทาผลกระทบต่อสภาพภูมิอากาศของตน จะเบนเข็มไปจากลดการผลิตและการบริโภคปศุสัตว์ที่เกินขนาด ซึ่งจะเป็นวิธีการแก้วิกฤตโลกเดือดที่อุตสาหกรรมเหล่านี้เป็นผู้ก่อได้ตั้งแต่ต้นทาง
-
เพราะเหตุใดลดมีเทนจาก Food Waste จึงไม่เท่าลดการผลิตล้นเกินของอุตสาหกรรมอาหารและเนื้อสัตว์
การทำปศุสัตว์เป็นแหล่งผลิตก๊าซมีเทนจากมนุษย์รายใหญ่ที่สุด ซึ่งก๊าซมีเทนเป็นก๊าซเรือนกระจกที่มีศักยภาพในการทำให้อุณหภูมิสูงขึ้นเร็วในระยะเวลาสั้น การเพิ่มขึ้นของการผลิตปศุสัตว์เป็นปัจจัยสำคัญอันดับสองที่ส่งผลต่อการเพิ่มขึ้นของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในระบบอาหารโลก อันเป็นผลมาจากการเพิ่มขึ้นของประชากรอย่างรวดเร็วในช่วงไม่กี่ทศวรรษที่ผ่านมา