All articles
-
ต้อนรับปีใหม่ 2568 พร้อมความสำเร็จในงานรณรงค์ของกรีนพีซ
เราขอขอบคุณผู้สนับสนุนกรีนพีซทุกคนที่เป็นคนสำคัญต่อความสำเร็จในการปกป้องสิ่งแวดล้อมและสิทธิมนุษยชนตลอดปี 2567 ที่ผ่านมา ตลอดปีกรีนพีซรณรงค์และมีความสำเร็จอะไรบ้างมาดูกันดีกว่า
-
รายงาน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไม้เป็นพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่มีต่อปริมาณน้ำท่า (runoff) พื้นที่เสี่ยงน้ำท่วม (flood risk areas) และพื้นที่เสี่ยงดินโคลนถล่ม (landslide risk areas) บริเวณพื้นที่ลุ่มน้ำติดต่อระหว่างประเทศไทย เมียนมา และสปป.ลาว
งานวิจัยของกรีนพีซ ร่วมกับคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ศึกษาถึงความเชื่อมโยงของการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไปเป็นพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในบริเวณลุ่มน้ำกก(Nam Mae Kok Basin) และลุ่มน้ำคำ (Nam Mae Kham Basin) บริเวณรอยต่อระหว่างประเทศไทยตอนบน รัฐฉานของเมียนมาและสปป.ลาว โดยวิเคราะห์ผลการเพิ่มขึ้นของพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลียงสัตว์ การเปลี่ยนพื้นที่ป่าไปเป็นพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไม้เป็นพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่มีต่อปริมาณน้ำท่า (runoff) พื้นที่เสี่ยงน้ำท่วม (flood risk areas) และพื้นที่เสี่ยงดินโคลนถล่ม (landslide risk areas)
-
จดหมายเปิดผนึกต่อยุทธศาสตร์ฟ้าใส (Clear Sky Strategy) ในการต่อกรกับฝุ่นพิษข้ามพรมแดน
จดหมายเปิดผนึกถึงรัฐบาลไทย เรียกร้องให้ใช้ระบบตรวจสอบย้อนกลับที่โปร่งใสและเปิดเผยต่อสาธารณะในการต่อกรกับฝุ่นพิษข้ามพรมแดน
-
กรีนพีซ จัดนิทรรศการ “เนื้อสัตว์ น้ำท่วม ฝุ่นพิษภาคเหนือ วิกฤตโลกเดือด เกี่ยวกันอย่างไร” เปิดความเชื่อมโยงของอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์และหายนะสิ่งแวดล้อม
กรีนพีซ ประเทศไทยเปิดความเชื่อมโยงของอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์กับผลกระทบสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย ผ่านงานนิทรรศการ “เนื้อสัตว์ น้ำท่วม ฝุ่นพิษภาคเหนือ วิกฤตโลกเดือด เกี่ยวกันอย่างไร” ตั้งแต่ 2 พ.ย. - 15 ธ.ค. 67 ที่ BACC pop⋅up, ห้องนิทรรศการ 2 ชั้น 3 แมด, มันมัน ศูนย์การค้าซีคอนสแควร์ ศรีนครินทร์
-
ชะลอโลกเดือด: การยุติภาวะฉุกเฉินด้านสภาพภูมิอากาศด้วยอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์และนม
การเลิกใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งในการต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ แต่เพียงแค่ฟอสซิลอย่างเดียวยังไม่เพียงพอ หากเราต้องการหยุดภาวะฉุกเฉินด้านสภาพภูมิอากาศที่เกิดจากอุณหภูมิของโลกที่สูงขึ้น เราจำเป็นต้องจำกัดการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์และนมอย่างเร่งด่วน
-
สรุปเนื้อหารายงาน ชะลอโลกเดือด: การยุติภาวะฉุกเฉินด้านสภาพภูมิอากาศด้วยอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์และนม
รายงานของกรีนพีซ นอร์ดิก “ชะลอโลกเดือด: การยุติภาวะฉุกเฉินด้านสภาพภูมิอากาศด้วยอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์และนม” เผยให้เห็นเป็นครั้งแรกว่าเราสามารถชะลอการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกได้ หากรัฐบาลมีความมุ่งมั่นในการลดการผลิตที่ล้นเกินจากอุตสาหกรรมปศุสัตว์ และเปลี่ยนผ่านสู่ระบบอาหารที่เป็นธรรมและยั่งยืน
-
กรีนพีซเผย บริษัทอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์ และผลิตภัณฑ์นมยักษ์ใหญ่ปล่อยก๊าซมีเทนไม่แพ้อุตสาหกรรมน้ำมัน: การลดการปล่อยก๊าซมีเทนอาจช่วยชะลอภาวะโลกเดือดในทศวรรษนี้ได้
รายงาน “ชะลอโลกเดือด: การยุติภาวะฉุกเฉินด้านสภาพภูมิอากาศด้วยอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์และนม” แสดงให้เห็นว่าเราสามารถชะลอภาวะโลกเดือดได้อย่างมีนัยสำคัญในช่วงอายุขัยของเราด้วยการเปลี่ยนแปลงระบบอาหาร โดยลดการผลิตเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์นมเชิงอุตสาหกรรม และเพิ่มการผลิตอาหารจากพืชให้มากขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับแนวทางการรับประทานอาหารของ EAT-Lancet Planetary Health ซึ่งมุ่งเน้นการสร้างระบบอาหารที่ยั่งยืนและส่งเสริมสุขภาพทั้งของมนุษย์และโลก
-
“มีกิน มีใช้ มีเกียรติ มีศักดิ์ศรี”: ประชาชนอยู่ตรงไหนในนโยบายของแพทองธารด้านปัญหาฝุ่นพิษข้ามพรมแดน
บทความนี้นำเสนอประเด็นที่รัฐบาลแพทองธาร ชินวัตร ไม่ได้ระบุในคำแถลงนโยบายต่อการแก้ปัญหาฝุ่นพิษข้ามแดน ซึ่งนอกจากจะไม่นำไปสู่การแก้ปัญหาที่ต้นเหตุอย่างแท้จริงแล้ว อาจซ้ำเติมปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่เกิดขึ้นอยู่ในปัจจุบันอีกด้วย
-
ความเป็นธรรมทางสิ่งแวดล้อมและสภาพภูมิอากาศที่ยังคงเลือนรางต่อไป ในคำแถลงนโยบายของรัฐบาลใหม่ต่อรัฐสภาวันที่ 12 กันยายน 2567
check list เปรียบเทียบ ข้อเสนอนโยบายสิ่งแวดล้อมที่รวบรวมจากการทำงานรณรงค์อย่างต่อเนื่องในช่วงหลายปีที่ผ่านมากับคำแถลงนโยบายของรัฐบาลต่อรัฐสภาในวันที่ 11 กันยายน 2566 โดยนายเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี และคำแถลงนโยบายของรัฐบาลต่อรัฐสภาในวันที่ 12 กันยายน 2567 โดยนางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรีคนล่าสุด
-
มลพิษทางอากาศยังคงเป็นความเสี่ยงจากเหตุปัจจัยภายนอกภัยคุกคามสุขภาพมนุษย์ เนื่องจากหลายประเทศยังไม่สามารถกำหนดหรือปฏิบัติตามค่ามาตรฐานอากาศสะอาดที่กำหนดไว้
แม้ว่ามลพิษทางอากาศจะลดลงเล็กน้อยเนื่องจากแนวโน้มที่เปลี่ยนไปในภูมิภาคเอเชียใต้ แต่มากกว่าสามในสี่ของประเทศทั่วโลกยังไม่ได้กำหนดหรือไม่สามารถปฏิบัติตามค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศระดับชาติได้