All articles
-
คนไทยอยู่ตรงไหนในแผน PDP : แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศที่มั่นคง ยั่งยืนและเป็นธรรมกับประชาชน ควรเป็นอย่างไร
เมื่อพูดถึงแผนพลังงานแห่งชาติ สำหรับคนธรรมดาทั่วไปแบบพวกเราแล้วดูเหมือนจะเป็นเรื่องไกลตัวมาก แต่รู้หรือไม่ว่าเจ้าแผนพลังงานแห่งชาตินี่แหละที่จะเป็นตัวกำหนดว่าเราต้องจ่ายค่าไฟแพงหรือถูก
-
เครือข่ายเพื่อพลังงานที่ยุติธรรมสำหรับทุกคน ถกถามแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้า (PDP2024) เพื่อประชาชนและโลกที่ดีกว่าเดิม
เครือข่ายเพื่อพลังงานที่ยุติธรรมสำหรับทุกคน จัดงาน “A Better World is Possible: ถกถามแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้า (PDP2024) เพื่อประชาชนและโลกที่ดีกว่าเดิม” เพื่อให้ประชาชนผู้จ่ายค่าไฟฟ้าได้รับรู้ และเข้าใจต่อร่างแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าปี 2567 และเรียกร้องให้นายเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรีในฐานะประธานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ
-
จดหมายเปิดผนึกและข้อเสนอถึงรัฐบาล เศรษฐา ทวีสิน “ทบทวนกระบวนการและแผน PDP2024 ที่ไม่มั่นคง แพงและไม่พาประเทศสู่การบรรลุเป้าหมาย Net zero”
จากกระบวนการรับฟังความเห็น ที่ไม่ดำเนินการให้เป็นไปตามหลักการมีส่วนร่วมของประชาชนที่ถูกบัญญัติรับรองไว้ทั้งในรัฐธรรมนูญและกฎหมาย จึงขอเรียกร้องให้รัฐบาลทบทวนร่างแผน PDP ฉบับนี้ และเปิดให้มีกระบวนการกระบวนการรับฟังความเห็นที่รอบด้านอย่างแท้จริง
-
พาสำรวจการจัดการขยะบนเรือเรนโบว์ วอร์ริเออร์
แม้จะเป็นการจัดการขยะในพื้นที่ขนาดเล็ก แต่เราหวังว่าระบบการจัดการขยะของเรือเรนโบว์ วอร์ริเออร์ จะเป็นแรงบันดาลใจให้กับอีกหลายคน หลายองค์กร ในการนำไปปรับใช้ การแยกขยะและทิ้งอย่างถูกต้อง
-
เตอร์ กฤษพล ศรีทอง นักกู้ภัยกับบทบาทอาสาสมัครนักดำน้ำเพื่อสิ่งแวดล้อมของกรีนพีซ
ทีมงานอาสาสมัครดำน้ำถือเป็นอีกหนึ่งทีมสำคัญในงานรณรงค์ครั้งนี้ที่มีส่วนทำให้งานวิจัยทั้งในชุมพร และสงขลา สำเร็จได้ด้วยดี เราจึงใช้โอกาสนี้พูดคุยกับหนึ่งในทีมนักดำน้ำของกรีนพีซ เตอร์ กฤษพล ศรีทอง นักวิ่งเทรลวัย 30 ปี ในชีวิตประจำวัน เตอร์ ทำงานด้านการกู้ชีพและกู้ภัย และมีงานอดิเรกแนวแอดเวนเจอร์ทั้ง ดำน้ำ วิ่งเทรล เดินป่า
-
PDP ตัวต้นเรื่องค่าไฟแพง
ถ้าคุณเป็นคนหนึ่งที่ตั้งคำถามเสมอว่า “เดือนนี้ก็ใช้ไฟน้อยแต่ทำไมค่าไฟถึงแพงขึ้น” ลองหันมาทำความรู้จักกับแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย หรือ Power Development Plan (PDP ) ที่เรามักเรียกกันว่าแผนพีดีพี
-
รายงานEIA โครงการเหมืองถ่านหินอมก๋อย ความตั้งใจให้เป็นเพียงพิธีที่ต่ำกว่ามาตรฐาน?
หนึ่งในปัญหาของระบบการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามกฎหมายไทยคือประเด็นการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการจัดทำรายงานอีไอเอ ผู้จัดทำรายงานอีไอเอมักระบุในรายงานว่า ได้จัดกิจกรรมการเผยแพร่ข้อมูลและจัดรับฟังความคิดเห็นที่ถูกต้องสมบูรณ์ตามคู่มือหรือประกาศของสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.)แล้ว แต่เสียงจากประชาชนที่อาจได้รับผลกระทบจากโครงการกลับกล่าวว่าการดำเนินการของผู้จัดทำรายงานไม่ใช่การจัดรับฟังความคิดเห็นอย่างแท้จริง
-
ต่อกรกับ Carbon Majors ตัวการวิกฤตโลกเดือด
เมื่อระบุลงไปอีกว่าก๊าซเรือนกระจกมาจากไหน คำตอบที่ได้แบบสุดๆ คือมาจากภาคพลังงานและผลิตไฟฟ้า ภาคคมนาคมขนส่ง ภาคอุตสาหกรรมการผลิต ภาคเกษตรกรรม/การใช้ที่ดิน และภาคการจัดการของเสีย ฯลฯ แต่ก็ยังไม่รู้ว่า “ใคร” อยู่ดี กลายเป็นว่าทางออกจากวิกฤตโลกเดือดเป็นความอิหลักอิเหลื่อ(wicked problem)
-
เรื่องของคนรักปะการัง : กานต์ ศุกระกาญจน์ กับความหลงใหลในปะการังและประสบการณ์ครั้งแรกบนเรือเรนโบว์ วอร์ริเออร์
“ผมว่ามันมหัศจรรย์ดี อย่างแรกที่ผมชอบคือมันสวย อย่างที่สองคือปะการังเป็นเหมือนบ้านของสัตว์ทะเลหลายชนิดและผมคิดว่าสัตว์เหล่านั้นก็น่าทึ่งมากเหมือนกัน นอกจากนี้ปะการังยังเป็นแหล่งอนุบาลสัตว์ทะเล”
-
การสร้างและการทำลายจากโครงสร้างของมนุษย์ ในภาพยนตร์ Solids by the Seashore (ทะเลของฉัน มีคลื่นเล็กน้อยถึงปานกลาง)
สิ่งปลูกสร้างที่มนุษย์สร้างเพื่อควบคุมธรรมชาติ ซึ่งผ่านการตัดสินใจโดยไม่ได้รับฟังความเห็นรอบด้านของรัฐ มักเป็นปัญหาที่ปรากฎให้เห็นอยู่ทั่วไปในประเทศไทย ทั้งส่งผลกระทบต่อชุมชนในพื้นที่ทั้งด้านความอุดมสมบูรณ์ของสิ่งแวดล้อมที่หายไป สิทธิทำกินและอยู่อาศัย รวมถึงความสวยงาม