All articles
-
Bette Midler และ Lupita Nyong’o ร่วมกับนักแสดง นักกิจกรรม และนักกีฬา เรียกร้องให้ผู้นำโลกลดการผลิตพลาสติก
นิวยอร์ก, สหรัฐอเมริกา, 9 กันยายน 2567 – ก่อนการประชุมสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติที่นิวยอร์ก เบ็ตต์ มิดเลอร์ (Bette Midler) นักแสดงเจ้าของรางวัล Tony และ Grammy และ ลูพีตา นยองโก (Lupita Nyong’o) นักแสดงเจ้าของรางวัล Oscar ได้ร่วมมือกับนักกีฬาและนักกิจกรรมจากทั่วโลก เรียกร้องให้ผู้นำโลกสนับสนุนสนธิสัญญาพลาสติกระดับโลกที่มีเป้าหมายชัดเจนในการลดการผลิตพลาสติกและยุติการใช้พลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้ง
-
จดหมายเปิดผนึกถึงรัฐบาล ในภูมิภาคเอเชีย เรียกร้องให้รัฐบาลทุกประเทศในภูมิภาคเอเชีย ยุติการใช้ถ่านหินให้ได้ก่อนหรือภายในปี 2578
พวกเราในฐานะขององค์กรภาคประชาสังคม และเครือข่ายที่ทำงานขับเคลื่อนความเป็นธรรมทางสภาพภูมิอากาศ ขอเรียกร้องให้รัฐบาลทุกประเทศในภูมิภาคเอเชีย ยุติการใช้ถ่านหินให้ได้ก่อนหรือภายในปี 2578 โดยการยุติโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินและโครงการเหมืองถ่านหินใหม่ทั้งหมดทันที และการจัดทำแผนปฏิบัติการปลดระวางถ่านหินที่เป็นธรรม
-
จากห้องครัวสู่แนวหน้าการปกป้องบ้านเกิด : เรื่องราวของ ‘นักรบผ้าถุง’ จากจะนะ
ภาพยนตร์สารคดีเรื่อง ‘นักรบผ้าถุง เริน เล และแสงตุหวัน (Sarong Warrior)’ ที่พาเราไปทำความรู้จักเหล่ากลุ่มนักรบผ้าถุงที่รวมกลุ่มกันเพื่อปกป้องแหล่งทรัพยากรทางทะเลอันอุดมสมบูรณ์จากโครงการอุตสาหกรรมก่อมลพิษ ผ่านสายตาของผู้กำกับ ‘เพื่อนนักรบผ้าถุง’ กีรติ โชติรัตน์ และเชี่ยววิทย์ พัฒนสุขพันธ์
-
#ฮักเจียงใหม่บ่เอาถ่านหิน : เจษฎา กล่อมลีลา และ เอกชัย ดำรงสกุลไพร : Chained to the Rhythm
“ผมเกิดในหมู่บ้านกะเหรี่ยงสะกอที่ ‘อมก๋อย’ ครับ หมอตำแยเป็นคนนำผมออกมาสู่โลกภายนอก ไม่ได้ไปคลอดที่โรงพยาบาล” เจษฎา กล่อมลีลา เกิดปี 2541 ปีนั้นเป็นปีที่ยานเคลเมนไทน์ค้นพบน้ำในหลุมที่ขั้วของดวงจันทร์ซึ่งเป็นประโยชน์ในการตั้งถิ่นฐานในอนาคต ปีนั้นเป็นปีที่บริษัทไมโครซอฟท์วางจำหน่ายวินโดวส์ 98
-
วิมานแย้ : เรื่องราวของ ‘แย้สงขลา’ ป่าชายหาด และระบบนิเวศของ อ.จะนะ สงขลา
ป่าชายหาดมีประโยชน์มากต่อพื้นที่ที่อยู่ชายฝั่ง ช่วยกันคลื่นกันลม ไอเค็ม โดยเฉพาะบริเวณที่เป็นเนินเช่นที่ อ.จะนะ ทำให้พื้นที่ข้างหลังสามารถพัฒนาเป็นป่าบกหรือเพาะปลูกได้ ที่นี่ยังเป็นที่อยู่ของ แย้ สายพันธุ์หายากหรือที่เรียกว่า แย้สงขลา
-
การเจรจาใน INC-5 ต้องเน้นการลดการผลิต โปร่งใสและรับฟังเสียงของภาคประชาสังคม
กรุงเทพฯ, ประเทศไทย -29 สิงหาคม 2567– หลังจากที่การประชุมระหว่างสมัย (Intersessional Work) ซึ่งจัดขึ้นก่อนหน้าการเจรจาสนธิสัญญาพลาสติกโลก (Global Plastic Treaty) ที่เป็นมาตรการด้านมลพิษพลาสติกและสิ่งแวดล้อมทางทะเล ที่มีผลผูกพันทางกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งจัดขึ้นที่กรุงเทพฯ ระหว่างวันที่ 24-28 สิงหาคม 2567 ได้จบลง สนธิสัญญานี้คือความหวังในการยุติวิกฤตมลพิษพลาสติก
-
มลพิษทางอากาศยังคงเป็นความเสี่ยงจากเหตุปัจจัยภายนอกภัยคุกคามสุขภาพมนุษย์ เนื่องจากหลายประเทศยังไม่สามารถกำหนดหรือปฏิบัติตามค่ามาตรฐานอากาศสะอาดที่กำหนดไว้
แม้ว่ามลพิษทางอากาศจะลดลงเล็กน้อยเนื่องจากแนวโน้มที่เปลี่ยนไปในภูมิภาคเอเชียใต้ แต่มากกว่าสามในสี่ของประเทศทั่วโลกยังไม่ได้กำหนดหรือไม่สามารถปฏิบัติตามค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศระดับชาติได้
-
ภาคประชาสังคมเรียกร้องให้ยุติการใช้ซองซาเช่ที่ก่อมลพิษในช่วงการเจรจาเกี่ยวกับสนธิสัญญาพลาสติกโลก
ผู้นำภาคประชาสังคมยังเรียกร้องความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมมากขึ้น ในการเจรจาสนธิสัญญาพลาสติกโลกที่กำลังจะถึง
-
ชวนทำ Possible PDP ให้แผนพลังงานไทยทำเพื่อคนใช้ไฟและนำประเทศสู่โลกที่ดีกว่า
เมื่อภาคประชาชนยังตั้งคำถามต่อค่าไฟฟ้าที่แพงและไม่เป็นธรรม จึงเกิดการถกเถียงในวงกว้างต่อแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้า หรือ PDP ที่กำลังถูกร่างขึ้นใหม่อีกครั้งโดยสำนักงานนโยบายและแผนพลังงานกระทรวงพลังงาน (สนพ.)
-
การชดเชยคาร์บอนภาคป่าไม้: การฟอกเขียวและการทำลายความหลากหลายทางชีวภาพการชดเชยคาร์บอนภาคป่าไม้:
คาร์บอนเครดิตคืออะไร? โครงการคาร์บอนเครดิตจะส่งผลกระทบต่อชุมชนอย่างไร? ใครที่ได้รับผลประโยชน์จากการซื้อขายคาร์บอนเครดิต? งานวิจัยชิ้นนี้มุ่งทำความเข้าใจและตอบคำถามดังกล่างข้างต้น เป็นคำถามที่เกิดขึ้นในสังคมไทยในช่วง 5-6 ปีที่ผ่านมาท่ามกลางการผลักดันนโยบาย Net Zero และความเป็นกลางทางคาร์บอนของรัฐบาล