• Skip to Navigation
  • Skip to Content
  • Skip to Footer
Greenpeace
  • รู้จักกรีนพีซ
    • เกี่ยวกับเรา
    • ความสำเร็จในงานรณรงค์
    • คำถามที่พบบ่อย
  • งานรณรงค์
    • ทะเลและมหาสมุทร
    • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    • พลาสติก
    • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
  • ร่วมกับเรา
    • อาสาสมัคร
    • ร่วมลงชื่อ
    • ตำแหน่งงานว่าง
    • Greenpeace Internship
    • อีเวนท์
  • การบริจาค
    • หลักการระดมทุน
    • ผู้บริจาคกรีนพีซ
    • สิทธิพิเศษสำหรับผู้บริจาค
    • ติดต่อฝ่ายดูแลผู้บริจาค
  • ข่าวสาร
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • บทความ
    • รายงาน และเอกสารงานรณรงค์
  • รู้จักกรีนพีซ
  • งานรณรงค์
  • ร่วมกับเรา
  • การบริจาค
  • ข่าวสาร
Greenpeace
  • Home
  • รู้จักกรีนพีซ
    • เกี่ยวกับเรา
    • ความสำเร็จในงานรณรงค์
    • คำถามที่พบบ่อย
  • งานรณรงค์
    • ทะเลและมหาสมุทร
    • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    • พลาสติก
    • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
  • ร่วมกับเรา
    • อาสาสมัคร
    • ร่วมลงชื่อ
    • ตำแหน่งงานว่าง
    • Greenpeace Internship
    • อีเวนท์
  • การบริจาค
    • หลักการระดมทุน
    • ผู้บริจาคกรีนพีซ
    • สิทธิพิเศษสำหรับผู้บริจาค
    • ติดต่อฝ่ายดูแลผู้บริจาค
  • ข่าวสาร
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • บทความ
    • รายงาน และเอกสารงานรณรงค์

News & Stories

  • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    เชื้อเพลิงฟอสซิล มลพิษทางอากาศ

    3 สิ่งสำคัญที่โตโยต้าและอุตสาหกรรมรถยนต์ควรทำเพื่อแก้วิกฤตสภาพภูมิอากาศทันที

    บริษัทผู้ผลิตรถยนต์รายใหญ่ของโลกล้มเหลวต่อการปกป้องสภาพภูมิอากาศโลก โดยหนึ่งในบริษัทที่น่าผิดหวังที่สุดคือโตโยต้า มีข้อมูลจากรายงานล่าสุดกรีนพีซเอเชียตะวันออกเปิดเผยว่า บริษัทผู้ผลิตรถยนต์รายใหญ่ 10 แห่งซึ่งครอบคลุมตลาดถึง 80% ไม่ได้ทำหน้าที่ของตัวเองเท่าที่ควรเพื่อแก้ไขวิกฤตสภาพภูมิอากาศ

    Greenpeace Thailand •
    28 November 2021
    5 min read
  • Global Climate Strike in Bangkok. © Chanklang  Kanthong / Greenpeace
    วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    เชื้อเพลิงฟอสซิล การเมืองและสภาพภูมิอากาศ

    หากทำตามสัญญาที่ COP26 รัฐบาลต้องกล้าปลดระวางถ่านหิน

    ถ้อยแถลงของผู้นำประเทศใน World Leader Summit ณ COP26 ที่กลาสโกว์ เมื่อวันที่ 1-2 พฤศจิกายน 2564 ที่ผ่านมา สะท้อนเบื้องหลังของนโยบายและมาตรการที่เกิดขึ้นจริงของแต่ละประเทศได้เป็นอย่างดี ถ้อยแถลงบนเวทีโลกอาจกลายเป็นเพียงสัญญาที่ว่างเปล่าหากการลงมือทำจริงกลับสวนทาง

    จริยา เสนพงศ์ •
    10 November 2021
    5 min read
  • กรีนพีซ
    เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    เชื้อเพลิงฟอสซิล

    กรีนพีซ อินเดีย ระบุ แผนลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของรัฐบาลอินเดีย ไปด้วยกันไม่ได้กับการลงทุนใหม่ในอุตสาหกรรมเชื้อเพลิง

    อินเดียควรมุ่งมั่นลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเป็นศูนย์โดยสุทธิให้เร็วขึ้นหลังจากประเมินสถานการณ์ในปีต่อๆไป แผนลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกดังกล่าวต้องไม่นำใช้ในทางที่ผิดและการฟอกเขียว และควรมีการกำหนดเวลาให้ชัดเจนในการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูงสุด

    Greenpeace India •
    2 November 2021
    3 min read
  • ขนส่งสาธารณะ
    เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    ไลฟ์สไตล์ คนและสังคม พลังงานหมุนเวียน

    เรื่องราวของ 6 ผู้หญิงในเมืองใหญ่ เมื่อขนส่งสาธารณะไม่ได้เป็นขนส่งสำหรับทุกคน

    พูดคุยกับผู้หญิง 6 คนเกี่ยวกับสิ่งที่เธออยากเห็นเมื่อต้องเดินทางในเมืองต่าง ๆ เพื่อจะช่วยให้เราเห็นปัญหาชัดขึ้น และตระหนักว่าถึงเวลาที่รัฐควรต้องแก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างนี้สักที เพราะการเดินทางที่ดี ควรจะเป็นการเดินทางที่ทุกคนเข้าถึงได้จริง ๆ 

    Greenpeace Thailand •
    28 October 2021
    8 min read
  • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    เชื้อเพลิงฟอสซิล พลังงานหมุนเวียน

    ปลดระวางถ่านหินเพื่อการเปลี่ยนผ่านที่เป็นธรรมในประเทศไทย

    การปลดระวางการลงทุนในถ่านหิน (coal divestment) เป็นแนวทางที่ดำเนินการทั่วโลก เนื่องจากการตระหนักถึงพิษภัย และความเสี่ยงในการเกิดปรากฏการณ์โลกร้อนแบบที่ไม่มีจุดวกกลับ ประเทศไทยในฐานะส่วนหนึ่งของประชาคมโลก จึงมีส่วนสำคัญในการร่วมรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อความยั่งยืนของลูกหลานรุ่นต่อ ๆ ไปในการดำรงชีวิตได้อย่างปกติสุข

    Greenpeace Thailand •
    27 October 2021
  • กรีนพีซ
    วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    เชื้อเพลิงฟอสซิล การเมืองและสภาพภูมิอากาศ

    เอกสารลับแฉ! กลุ่มประเทศผู้ผลิตเชื้อเพลิงฟอสซิลตีกลับแผนปฏิบัติการสภาพภูมิอากาศในรายงาน IPCC

    รายงานข่าวจากอันเอิร์ธ เปิดเผยเอกสารรั่วไหลที่ระบุว่า กลุ่มประเทศผู้ผลิตถ่านหิน เนื้อสัตว์เชิงและอาหารสัตว์ส่วนหนึ่งพยายามลบผลการค้นพบในรายงานด้านสภาพภูมิอากาศขององค์การสหประชาชาติ (UN)

    Greenpeace International •
    22 October 2021
    4 min read
  • กรีนพีซ #ปลดระวางถ่านหิน Twitter Space
    วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    เชื้อเพลิงฟอสซิล การเมืองและสภาพภูมิอากาศ

    สรุปเสวนา ‘ถ่านหินกับรัฐบาล ใครจะปลดระวางก่อน’ #ปลดระวางถ่านหิน

    สรุปจากเสวนา ‘ถ่านหินกับรัฐบาล ใครปลดระวางก่อนกัน?’ วงพูดคุยที่ชวนตัวแทนเยาวชนในพื้นที่ คนทำงานด้านกฎหมาย นักวิจัยนโยบาย และกรีนพีซ มาร่วมกันพูดคุยถึงปัญหา การต่อสู้ ระหว่างกระบวนการการที่ออกแบบเพื่อรับฟังความคิดเห็นของประชาชนที่อาจได้รับผลกระทบจากอุตสาหกรรมถ่านหิน

    Greenpeace Thailand •
    7 October 2021
    10 min read
  • กรีนพีซ-เสวนา-อยุธยา-ถ่านหิน
    เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    เชื้อเพลิงฟอสซิล

    สรุปจากเสวนา ‘เจาะลึกเบื้องหลังการใช้ถ่านหินในไทย ปลดระวางได้ไหมในชาตินี้?!’ ตอน อยุธยาเมืองท่าถ่านหิน

    ‘เจาะลึกเบื้องหลังการใช้ถ่านหินในไทย ปลดระวางได้ไหมในชาตินี้?!’ เสวนาจาก Greenpeace Thailand ชวน ‘เริงชัย คงเมือง’ ช่างภาพสารคดี ‘อำนาจ อ่วมภักดี’ ตัวแทนกลุ่มรักบ้านเกิดและคณะกรรมการแก้ไขปัญหาระดับจังหวัด และจริยา เสนพงศ์ หัวหน้างานรณรงค์เพื่อการเปลี่ยนผ่านทางพลังงาน กรีนพีซ ประเทศไทย มาพูดคุยถึงปัญหาจากถ่านหินที่คนในพื้นที่ได้รับผลกระทบมาแล้วกว่า 20 ปี

    Greenpeace Thailand •
    6 October 2021
    5 min read
  • Protest Sign at India Gate in New Delhi. © Saagnik Paul / Greenpeace
    วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    เชื้อเพลิงฟอสซิล มลพิษทางอากาศ

    ประชากร 61 เมืองใหญ่ทั่วโลกกำลังได้รับผลกระทบด้านสุขภาพจากถ่านหิน

    รายงานจากเครือข่าย C40 Cities Climate Leadership Group ระบุว่าจากแบบจำลองและวิจัยได้แสดงให้เห็นถึงผลกระทบของถ่านหินต่อสุขภาพของประชากรในเมืองใหญ่ใน 61 เมืองทั่วโลกในช่วงปี 2563-2573

    Greenpeace Thailand •
    30 September 2021
    3 min read
  • กรีนพีซ
    เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    เชื้อเพลิงฟอสซิล

    เอกสารสรุปสำหรับสื่อมวลชน : เบื้องหลังการนำเข้าถ่านหิน และข้อเสนอการเปลี่ยนผ่านพลังงานที่ยั่งยืนและเป็นธรรมในประเทศไทย

    การใช้ถ่านหินนำเข้าในภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น โดยสัดส่วนการใช้ถ่านหินในภาคอุตสาหกรรม เพิ่มสูงขึ้นเมื่อเทียบกับภาคการผลิตไฟฟ้าจากร้อยละ 23 ในปี 2533 เป็นร้อยละ 39 ในปี 2562

    Greenpeace Thailand •
    27 September 2021
    1 min read
Prev
1 … 20 21 22 23 24 … 52
Next
  • Greenpeace International
  • A
    • Africa
      • English •
      • Français
    • Aotearoa
    • Argentina
    • Australia
    • Austria
  • B
    • Belgium
      • Français •
      • Nederlands
    • Brazil
    • Bulgaria
  • C
    • Canada
      • English •
      • Français
    • Chile
    • Colombia
    • Croatia
    • Czech Republic
  • D
    • Denmark
  • E
    • East Asia
      • 中文简体 •
      • 繁體 •
      • 正體 •
      • 한국어 •
      • English
    • European Union
  • F
    • Finland
    • France
  • G
    • Germany
    • Greece
  • H
    • Hungary
  • I
    • India
      • English •
      • Hindi
    • Indonesia
    • Israel
    • Italy
  • J
    • Japan
  • L
    • Luxembourg
      • Deutsch •
      • Français
  • M
    • Malaysia
    • Mexico
    • Middle East and North Africa
      • العربية •
      • English •
      • Français
  • N
    • Netherlands
    • Norway
  • P
    • Peru
    • Philippines
    • Poland
    • Portugal
  • R
    • Romania
  • S
    • Slovakia
    • Slovenia
    • South Asia
    • Southeast Asia
    • Spain
      • Español •
      • Català •
      • Euskara •
      • Galego
    • Sweden
    • Switzerland
      • Deutsch •
      • Français
  • T
    • Thailand
    • Turkey
  • U
    • UK
    • Ukraine
    • USA
Follow us
  • Facebook
  • Twitter
  • YouTube
  • Instagram
  • Line
  • รู้จักกรีนพีซ
  • ติดต่อเรา
  • ตำแหน่งงานว่าง
  • ศูนย์ข่าว
  • งานระดมทุน
  • กรีนพีซ คำถามที่พบบ่อย
  • Sitemap
  • นโยบายความเป็นส่วนตัวและคุกกี้
  • นโยบายการใช้งาน
  • ลิขสิทธิ์
  • คลังข้อมูล
Greenpeace Thailand 2025 Unless otherwise stated, the copy of the website is licensed under a CC-BY International License

Manage your cookies preferences

Please select which cookies you are willing to store.

คุกกี้การแสดงผล Always enabled

คุกกี้เหล่านี้จะช่วยให้เราเก็บข้อมูลเชิงสถิติและข้อมูลที่ไม่ระบุตัวตน เช่น ผู้ใช้เว็บไซต์ใช้เวลานานเท่าไรในหน้าเว็บไซต์แต่ละหน้า หรือผู้ใช้คลิกลิงก์อะไรบ้าง ข้อมูลจะถูกเก็บไปเพื่อพัฒนาเว็บไซต์ greenpeace.org ให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้นเพื่อการใช้เว็บไซต์ของคุณ การกดยอมรับคุกกี้เหล่านี้ยังจะช่วยให้คุณไม่ถูกตรวจจับด้วยระบบแบนคุกกี้

จากที่มีการกล่าวถึงในย่อหน้า คุกกี้การแสดงผล ด้านบน เราอาจจะติดตั้งคุกกี้ในบราวเซอร์ของคุณซึ่งเป็นคุกกี้บุคคลที่สาม (เช่น คุกกี้จาก Facbook หรือ Google) สำหรับติดตามข้อมูลเพื่อการวางแผนการตลาดที่ดีขึ้นและปล่อยโฆษณาออนไลน์ที่คาดว่าคุณจะสนใจหลังจากที่คุณออกจากเว็บไซต์ไปแล้ว (คุกกี้กำหนดกลุ่มเป้าหมายใหม่)

รายชื่อเต็มของคุกกี้ที่อาจถูกติดตั้งบนบราวเซอร์ของคุณสามารถดูได้จากด้านบน (ดู ประเภทของคุกกี้ ) และรายละเอียดบางส่วนถึงการที่เราจัดการกับข้อมูลอย่างไรผ่านระบบบุคคลที่สามด้านล่าง

หากมีการยกเลิกการใช้งาน (un-checking) คุกกี้ทั้ง 2 ประเภทด้านบน เราจะเซ็ตคุกกี้เฉพาะในบราวเซอร์ของคุณเพื่อเก็บข้อมูลการใช้งาน ซึ่งจะทำให้คุณไม่ได้รับการติดตามบนเว็บไซต์จนกว่าคุณจะเปลี่ยนใจหรือเคลียร์คุกกี้ในบราวเซอร์

เว็บบราวเซอร์เกือบทั้งหมดอนุญาตให้ควบคุมคุกกี้บางตัวผ่านการตั้งค่าบราวเซอร์ (เช่น การแจ้งเตือนการติดตั้งคุกกี้ใหม่, การยกเลิกการใช้คุกกี้และการตรวจจับคุกกี้) คลิกที่ประเภทบราวเซอร์ของคุณด้านล่าง เพื่อเรียนรู้ข้อมูลผู้ใช้บราวเซอร์ และเรียนรู้การยกเลิกการติดตั้งคุกกี้
Chrome
Firefox
Internet Explorer
Microsoft Edge
Opera
Safari

แม้ว่าสามารถบล็อกคุกกี้ทั้งหมดได้ อย่างไรก็ตามจะมีผลกระทบทางในด้านการใช้งานเว็บไซต์หลายเว็บไซต์

เว็บไซต์ของเราใช้คุกกี้ เพื่อจัดการข้อมูลส่วนบุคคล และพัฒนาประสบการณ์การใช้งานให้กับผู้ใช้ อ่านเพิ่มเติมใน นโยบายความเป็นส่วนตัวและคุกกี้