All articles
-
แบรนด์ยักษ์ใหญ่ “โคคา-โคล่า” ซึ่งเป็นผู้สนับสนุนหลักของการประชุม COP27 ถูกจัดอันดับว่าเป็นผู้ก่อมลพิษพลาสติกมากที่สุดในช่วงห้าปีที่ผ่านมา
เป็นเรื่องที่น่าแปลกอย่างมากที่บริษัทผู้ก่อมลพิษพลาสติกมากที่สุดกลายเป็นผู้สนับสนุนการประชุม เวทีการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หรือ COP 27 ที่จัดขึ้นที่อียิปต์ ทำให้เกิดความสับสนของนักกิจกรรมทางสิ่งแวดล้อมว่าทำไมบริษัทอย่างโคคา-โคล่าที่ใช้พลาสติกซึ่งผลิตจากเชื้อเพลิงฟอสซิล 99% กลายมามีบทบาทสำคัญในการประชุม COP 27 ได้
-
Coca-Cola’s Plastic Promises : “โค้ก” ขวดแก้วที่หายไป
Coca-Cola’s Plastic Promises คือสารคดีที่ว่าด้วยปัญหามลพิษพลาสติก โดยเจาะลึกบทบาทของผู้ผลิต และตั้งคำถามถึงแคมเปญ “โลกไร้ขยะ” ของบริษัทโคคา-โคล่า หรือที่เราเรียกกันติดปากว่า “โค้ก”
-
CP ครองแชมป์ผู้ผลิตแบรนด์ในประเทศที่พบขยะพลาสติกมากที่สุดจากBrand Audit ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมากรีนพีซ ประเทศไทย เรียกร้องให้นำหลักการขยายความรับผิดชอบของผู้ผลิตมาใช้
กรุงเทพฯ, 29 กันยายน 2565– กรีนพีซ ประเทศไทย มอบรางวัล Top 5 Corporate Plastic Polluters หรือผู้ก่อมลพิษพลาสติกสูงสุด 5 อันดับแรก จากการเก็บขยะและตรวจสอบแบรนด์สินค้าจากขยะพลาสติก (Brand Audit) ตั้งแต่ปี 2561-2565 ให้แก่แบรนด์ในประเทศ 5 อันดับแรก ได้แก่ เครือเจริญโภคภัณฑ์ (CP Group), ดัชมิลล์, โอสถสภา, เสริมสุข…
-
ปัญหาไม่ได้อยู่ที่พลาสติก แต่อยู่ที่การจัดการ
เริ่มจากดูคลิปของไกลบ้าน ที่มีพี่ต่อพูดวลี “ถ้าเราใช้หลอด แล้วเต่าทะเลล่ะ จะทำยังไง”
-
มลพิษพลาสติกในทะเล ใครควรเป็นคนรับผิดชอบ?
มหาสมุทรนับว่าเป็นปอดของโลก ครึ่งหนึ่งของอากาศที่หายใจเข้าไปมาจากที่นี่ แต่ตอนนี้มหาสมุทรของพวกเรากำลังถูกทำลายจากมลพิษพลาสติกที่มาจากพลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้ง (single-use plastic) และเครื่องมือการทำประมง มลพิษพลาสติกที่กำลังเกิดขึ้นในมหาสมุทรนับว่าเป็นภัยคุกคามที่อาจส่งผลต่อระบบนิเวศทางทะเลรวมถึงความสามารถในการผลิตก๊าซออกซิเจนให้เราหายใจ
-
เริ่มที่ตัวเองพอไหม? ชวนตั้งคำถามถึงนโยบายการจัดการมลพิษพลาสติกของรัฐ
ประเด็นพลาสติกหรือประเด็นสิ่งแวดล้อมเนี่ย มันไม่ใช่เรื่องไกลตัวเรา มันแทบจะอยู่ทุกช่วงเวลาในชีวิตประจำวันเรา เเต่คนมักมองข้ามปัญหาขยะพลาสติก เพราะคิดว่าตอนนี้มันสะดวกสบาย เเต่ไม่คำนึงถึงผลกระทบที่จะตามมาในอนาคตกันเลย เจมส์อยากให้มองย้อนกลับมาที่ตัวเองว่า คุณพยายามที่จะลดการใช้แล้วหรือยัง คุณพยายามที่จะใช้เสียงของตัวเองให้ภาครัฐได้ยินไหม ควรลดความเห็นแก่ตัว เเล้วก็ใส่ใจสิ่งแวดล้อมให้มากกว่านี้ ไม่เพียงแค่สังคมไทย แต่รวมไปถึงสังคมโลก
-
แฟมิลี่ มาร์ท ในไต้หวันจัดทำระบบมัดจำแก้วสำเร็จ!
เมื่อเดือนมีนาคมที่ผ่านมา แฟมิลี่ มาร์ท ซึ่งเป็นร้านสะดวกซื้อที่มีสาขามากที่สุดเป็นอันดับ 2 ในไต้หวัน ประกาศว่าร้านแฟมิลี่ มาร์ทจำนวน 400 สาขาจะเริ่มใช้ ‘ระบบมัดจำแก้ว’ โดยแฟมิลี่ มาร์ทเป็นร้านสะดวกซื้อแรกในเอเชียที่เปิดตัวระบบที่ใช้แก้วใช้ซ้ำได้ที่มีสเกลขนาดใหญ่
-
โคคา-โคล่า กับ เป๊ปซี่ ใครจะก้าวมาเป็นผู้นำสร้างระบบใช้ซ้ำและระบบเติม
เมื่อไม่นานมานี้ โคคา-โคล่าประกาศให้คำมั่นว่าจะผลิตบรรจุภัณฑ์ที่สามารถนำกลับมาใช้ซ้ำหรือระบบเติมที่ให้ผู้บริโภคนำภาชนะส่วนตัวมาเติมสินค้าเองได้ลง 25% ภายในปี 2573 แล้วแบรนด์ยักษ์ใหญ่ในธุรกิจเดียวกันอย่างเป๊ปซี่ล่ะ มีคำมั่นที่จะนำระบบใช้ซ้ำและระบบเติมอย่างไรบ้าง
-
พลาสติก ความรับผิดชอบของผู้ผลิต และวิกฤตสภาพภูมิอากาศ ราคาของวิกฤตความสะดวกสบาย
เราไม่สามารถผ่านพ้นวิกฤตมลพิษพลาสติกที่เป็นส่วนหนึ่งของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้เลย หากยังคงเน้นเพียงการสร้างจิตสำนึก หรือมุ่งไปที่การทำให้ผู้บริโภคเปลี่ยนพฤติกรรมเพียงอย่างอย่างเดียวเท่านั้น
-
กรีนพีซเปิดตัวแพลตฟอร์มออนไลน์ “สืบจากขยะ ใครกันที่ต้องรับผิดชอบ” ชวนตรวจสอบแบรนด์สินค้าจากขยะพลาสติก เพื่อผลักดันผู้ผลิตให้จัดการมลพิษพลาสติก
กรุงเทพฯ, 17 กุมภาพันธ์ 2565 – กรีนพีซ ประเทศไทย เปิดตัวแพลตฟอร์มออนไลน์ “สืบจากขยะ ใครกันที่ต้องรับผิดชอบ” เพื่อรวบรวมและนำเสนอข้อมูลการเก็บขยะและตรวจสอบแบรนด์สินค้าจากขยะพลาสติก (Brand Audit) ในประเทศไทย ผ่านการเล่าเรื่องด้วยข้อมูลและภาพ (Data Storytelling) เพื่อสะท้อนให้สาธารณชนได้เห็นว่าพบเจอขยะพลาสติกจากแบรนด์สินค้าและบริษัทใดมากที่สุดในพื้นที่สำรวจ พร้อมตั้งคำถามถึงความรับผิดชอบของผู้ผลิต