All articles
-
‘เพราะเราได้ลุกขึ้นสู้แล้ว’ บทสนทนาของ ดวง พรชิตา คนรุ่นใหม่ในหมู่บ้านกะเบอะดิน กับการมาถึงของเหมืองถ่านหิน
เมื่อกลุ่มเยาวชนในหมู่บ้านกะเบอะดิน อ.อมก๋อย จ.เชียงใหม่ ลุกขึ้นคัดค้านโครงการเหมืองถ่านหินที่อาจทำลายทรัพยากรและวิถีชีวิตของพวกเขา
-
เหมืองถ่านหิน: 1 ปีแห่งการต่อสู้และก้าวย่างของคนอมก๋อย
การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่กำลังจะเกิดขึ้นในอมก๋อยหากโครงการเหมืองถ่านหินอมก๋อยเกิดขึ้น จะนำมาสู่การเปลี่ยนแปลงสายน้ำสายสำคัญ
-
แหล่งอาหารในอมก๋อยอาจได้รับผลกระทบจากถ่านหิน
มะเขือเทศและฟักทองถือเป็นพืชเศรษฐกิจของชาวกะเหรี่ยงในหมู่บ้านกะเบอะดิน หัวใจของการปลูกพืชผักเหล่านี้ก็คือ “น้ำสะอาด” แต่แหล่งน้ำที่จำเป็นนั้นอาจได้รับผลกระทบหากมีโครงการเหมืองถ่านหินเกิดขึ้น
-
รายงานการจัดอันดับมลพิษทางอากาศโลกของกรีนพีซระบุการปล่อยก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ที่อินเดียลดลงเนื่องจากการใช้ถ่านหินชะลอตัว
เดลี, อินเดีย, 8 ตุลาคม 2563 - การวิเคราะห์ข้อมูลจากดาวเทียมของ NASA โดยกรีนพีซ อินเดีย และ Centre for Research and Clean Air (CREA) แสดงให้เห็นว่าการปล่อยก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2)ในประเทศอินเดียที่ลดลงในปี 2562 ซึ่งเป็นครั้งแรกในรอบ 4 ปี เกิดจากการใช้ถ่านหินที่ลดลง
-
เปิดต้นทุนมลพิษทางอากาศ Real-timeในช่วงโควิด-19
จาการ์ตา, อินโดนีเซีย, 9 กรกฎาคม 2563 - เครื่องมือติดตามต้นทุนมลพิษทางอากาศตามเวลาจริงชี้ว่า มลพิษทางอากาศมีส่วนก่อให้เกิดการเสียชีวิตกว่า 24,000 รายในกรุงนิวเดลี ประเทศอินเดียในช่วงครึ่งปีแรกของปี2563 แม้จะมีนโยบายปิดเมืองอันเป็นมาตรการเข้มข้นจากเหตุระบาดโควิด-19 เครื่องมือดังกล่าวได้รับการพัฒนาโดยกรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และ IQAir AirVisual ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ช่วยเปิดเผยผลกระทบจากมลพิษทางอากาศใน 28 เมืองทั่วโลกและอีก 6 จังหวัดในประเทศไทยตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2563
-
เหมืองถ่านหินและอนาคตแม่ทะหลัง Covid-19
ท่ามกลางวิกฤตโควิด-19 ยังมีการเดินหน้าโครงการเหมืองถ่านหินแม่ทะต่อไปอย่างเงียบๆ
-
รุ่งเรืองแล้วร่วงโรย 2563
การติดตามแผนการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินทั่วโลก ปี 2563 จากฐานข้อมูลติดตามโรงไฟฟ้าถ่านหินท่ัวโลก พบว่าตัวชี้วัดการเติบโตของกําลังการผลิตไฟฟ้าจากถ่านหินแทบทั้งหมดมีการลดปริมาณลงในปี 2562 ซึ่งนับเป็นปีที่ 4 ติดต่อกัน
-
สถานการณ์น้ำในวิกฤตโลกร้อน
วันน้ำโลกในปี พ.ศ.2563 นี้ยกประเด็น น้ำในวิกฤตโลกร้อน เป็นเรื่องสำคัญ สหประชาชาติระบุว่า การรับมือกับวิกฤตน้ำจากผลกระทบที่เป็นหายนะของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจะช่วยปกป้องสุขภาพและช่วยชีวิตผู้คน การใช้น้ำอย่างมีประสิทธิภาพยังช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและกู้วิกฤตโลกร้อน
-
“กะเบอะดิน อัตลักษณ์ จิตวิญญาณ ผืนป่า” เมื่อชุมชนลุกขึ้นปกป้องพื้นที่จาก เหมืองถ่านหิน
“ทำไมเขาไม่เห็นใจเรา บ้านเราก็ไม่ได้รวยอะไรแค่ต้องการที่จะใช้ชีวิตอยู่ในหมู่บ้านของเราหมู่บ้านที่เราเกิด” คำพูดคำพูดหนึ่งของ พาตี่ (ลุง) คนหนึ่งที่ได้แสดงความคิดเห็นและความกังวลต่อโครงการเหมืองแร่ถ่านหินที่จะเกิดขึ้นในพื้นที่ “ถ้าเราไม่หยุดเหมืองแร่เราก็อาจไม่มีบ้านอยู่”
-
เราจะยอมให้อมก๋อยเป็นเหมืองถ่านหินจริง ๆ หรือ?
การต่อสู้ของชุมชนที่อมก๋อยคือหัวใจสำคัญของการยุติยุคถ่านหิน ต้นทุนผลกระทบภายนอกจากการนำถ่านหินมาผลิตไฟฟ้าและการผลิตทางอุตสาหกรรมทำความเสียหายให้กับสภาพภูมิอากาศโลกและชุมชนนั้นสูงเกินกว่าที่จะแบกรับ