All articles by รัตนศิริ กิตติก้องนภางค์
-
เมื่อ CPTPP จะทำให้ความหมายของเมล็ดพันธุ์เปลี่ยนไป
ทำไมถึงต้องกังวล หากเมล็ดพันธุ์จะถูกจดสิทธิบัตรและถูกครอบครองโดยบริษัท?
-
โลกของโรค ตอนที่ 3 เมื่ออาหารคือทั้งปัญหาและทางออก
อยากจะขอปรับคำกล่าวที่ว่า “You are what you eat.” สักหน่อยเป็น “The world is what you eat.” เพราะสิ่งที่เราเลือกกินนั้นไม่ได้เพียงแค่ส่งผลกระทบต่อรอบเอวหรือสุขภาพของเรา แต่ยังส่งผลกระทบถึงสิ่งแวดล้อมของโลก สังคม เศรษฐกิจ รวมถึงวิถีชีวิตของคนที่เกี่ยวข้องในห่วงโซ่อุปทานการผลิตด้วย
-
โลกของโรค ตอนที่ 2 หมูเห็ดเป็ดไก่ การปฏิวัติอุตสาหกรรมเกษตร และโรคระบาด
อาจจะเป็นเรื่องเหลือเชื่อที่มนุษย์อย่างเรามีความสัมพันธ์อย่างตัดไม่ขาดกับธรรมชาติ และการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของมนุษย์นั้นส่งผลต่อสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะเรื่องอาหารการกิน
-
โลกของโรค ตอนที่ 1 โรคระบาดกับระบบนิเวศ
ข้อมูลมากมายจากนักวิจัยและนักวิทยาศาสตร์ระบุชัดว่า โรคระบาดครั้งใหญ่ในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมา ไม่ได้จู่ ๆ ก็เกิดขึ้นตามช่วงเวลา แต่เป็นผลจากการกระทำและกิจกรรมของมนุษย์ต่อระบบนิเวศของสิ่งแวดล้อม หากเราไม่เริ่มทำความเข้าใจระบบนิเวศ และหันมาดูแลสิ่งแวดล้อมมากขึ้นตั้งแต่วันนี้ อาจส่งผลให้เกิดโรคอุบัติซ้ำและอุบัติใหม่
-
ยึดครองเมล็ดพันธุ์ = ยึดกุมอาหาร บทเรียนก่อนถลำสู่ CPTPP
ทางแยกที่รัฐบาลจะต้องเลือกเดินหากเข้าร่วมความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก หรือ Comprehensive and Progressive Agreement of Trans-Pacific Partnership (CPTPP) ที่พ่วงมาพร้อมกับ อนุสัญญาระหว่างประเทศ เพื่อการคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่ หรือ UPOV 1991 คือ การตัดสินใจว่าจะให้น้ำหนักความสำคัญไปในทิศทางใด ระหว่างสิทธิในการเข้าถึงอาหารอย่างเป็นธรรมของประชาชน หรือผลประโยชน์คณานับของบรรษัทอาหารและเกษตรที่ครอบครองตลาดเพียงไม่กี่ราย
-
เพราะเหตุใดการเข้าร่วม CPTPP จึงเป็นการผูกขาดเมล็ดพันธุ์
ช่วงวิกฤต COVID-19 นี้ สิ่งหนึ่งที่ชัดเจนขึ้นคือ ความสำคัญของความมั่นคงทางอาหารและเมล็ดพันธุ์ หลายคนเริ่มหันมาเป็นมือปลูก และแบ่งปันเมล็ดพันธุ์และผลผลิตให้กันและกัน ความหลากหลายทางพืชพรรณธัญญาหารเป็นเอกลักษณ์ของประเทศไทย และการเก็บเมล็ดพันธุ์เพื่อปลูกต่อและส่งต่อกันเช่นนี้เป็นวิถีชีวิตของเกษตรกรไทยมาช้านาน แต่การเข้าร่วมภาคี CPTPP จะส่งผลต่อสิทธิพื้นฐานของประชาชนในด้านเมล็ดพันธุ์อย่างร้ายแรง
-
ปลูกผักกินเอง ปลูกความมั่นคงทางอาหารในรั้ว
การปลูกผักใช้ความรักมากกว่าใช้เงิน ในช่วงเวลาที่ COVID-19 กำลังคุกคามเราทั้งสุขภาพและเงินในกระเป๋าเช่นนี้ อีกทั้งความจำเป็นต้องอยู่บ้านให้มากที่สุดทำให้เราเริ่มหันมาตระหนักถึงความมั่นคงทางอาหาร
-
เยียวยาป่า และปล่อยให้ป่าเยียวยาทุกสิ่ง
เพียงแค่เราปล่อยให้ผืนป่าเยียวยาตนเอง ก็จะสามารถเยียวยาความมั่นคงทางอาหาร ระบบนิเวศ และสภาพภูมิอากาศได้ แต่จะดีกว่านั้น ถ้าเราทุกคนช่วยกันลงมือเปลี่ยนแปลง เริ่มจากสิ่งเล็กน้อยอย่างการกิน เพื่อสุขภาพของเราและโลก
-
ยาปฏิชีวนะในระบบอาหารของเรา
แบคทีเรียร้ายที่เกิดจากการใช้ยาปฏิชีวนะเกินความจำเป็นในฟาร์มปศุสัตว์เชิงอุตสาหกรรมนั้นส่งผลกระทบไปไกลเกินกว่าขอบรั้วของฟาร์ม
-
ไข้หวัดนก อุตสาหกรรมไก่ สุขภาพโลก สุขภาพเรา
แทบทุกปีที่เรารับรู้ข่าวการระบาดของไข้หวัดนก และความจำเป็นต้องฆ่าไก่ที่ติดโรคหลายล้านตัวในแต่ละประเทศ การที่มนุษย์มีโอกาสติดไวรัสนี้ได้และเสี่ยงถึงชีวิต น่าจะถึงเวลาที่เราจะต้องตั้งคำถามกับอุตสาหกรรมปศุสัตว์ว่ายั่งยืนแค่ไหน และมีบทบาทอย่างไรสำหรับสุขภาพของโลก และสุขภาพของเรา