All articles
-
กรีนพีซเปิดผลวิเคราะห์ภาพถ่ายดาวเทียม ระบุช่วง 6 ปีที่ผ่านมา ผืนป่าในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงกลายเป็นไร่ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 10.6 ล้านไร่ และโยงกับมลพิษ PM2.5 ข้ามพรมแดน
รายงาน ได้ขยายการวิเคราะห์ภาพถ่ายดาวเทียมระบบ MODIS เพื่อให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไม้ การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และนัยยะสำคัญของพื้นที่เผาไหม้และจุดความร้อนที่มีต่อการกระจายตัวและความเข้มข้นของมลพิษ PM2.5 ข้ามพรมแดนในช่วงปี 6 ปีที่ผ่านมา
-
“มาเป็นสายเนื้อกันเถอะ!” ชาวยุโรปอาจกำลังจ่ายภาษีเพื่อโฆษณาสิ่งนี้
อุตสาหกรรมเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์จากนมในยุโรปกำลังประสบปัญหา เมื่อผู้คนจำนวนมากขึ้นไม่ต้องการบริโภคสเต็ก เนื้อบด หรือปีกไก่ แต่โฆษณาเข้ามาช่วยอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์อย่างไร
-
ถึงเวลาฟื้นฟูโลก เกิดอะไรขึ้นบ้างกับสิ่งแวดล้อมในช่วงไวรัสโควิดระบาด
ผลกระทบเชิงรูปธรรมของ COVID-19 ที่มีต่อสิ่งแวดล้อม รวมถึงระบบอาหารและเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ยังมีอยู่อย่างจำกัด ด้วยธีมของวันคุ้มครองโลกปี 2564 นี้คือ “ฟื้นฟูโลก(Restore Our Earth™)” เราขอยกประเด็นสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นและเปลี่ยนแปลงในช่วง 5-6 ปีที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน และปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้
-
เพื่อปกป้องธรรมชาติ เราต้องทำลายกำแพงของการอนุรักษ์ที่แยกคนออกจากธรรมชาติ
สัญญาณของวิกฤตชัดเจนยิ่งขึ้น ทั้งไฟไหม้ น้ำท่วม ภัยแล้งยาวนาน โรคระบาด การสูญพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต โลกกำลังกรีดร้องอย่างเต็มกำลัง เราต้องรับฟังและลงมือทำบางอย่าง
-
พลาสติกคือส่วนหนึ่งของปัญหาด้านวิกฤตสภาพภูมิอากาศ สุขภาพ และความยุติธรรมทางสังคม
เมื่อไหร่ที่คนออกมาพูด แบรนด์ใหญ่ ๆ จะรับฟัง หากมีคนจำนวนมากออกมาเรียกร้องก็สามารถสร้างการเปลี่ยนแปลงได้ ให้บริษัทต่าง ๆ หยุดก่อมลพิษพลาสติก
-
ความคิดเห็นของกรีนพีซต่อรายงานล่าสุดจากองค์การอนามัยโลก (WHO) ที่เปิดเผยความเชื่อมโยงระหว่างการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพกับโรคที่ติดเชื้อจากสัตว์สู่คน
จากรายงานอย่างเป็นทางการโดยองค์การอนามัยโลก (World Health Organization หรือ WHO) เกี่ยวกับที่มาของเชื้อไวรัส SARS-CoV-2 ชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงของโรคระบาด จากการติดต่อระหว่างสัตว์ป่าและมนุษย์ แสดงให้เห็นว่าการทำลายระบบนิเวศซึ่งเปรียบเหมือนการทำลายกันชนระหว่างสัตว์กับมนุษย์นั้นเป็นภัยคุกคามที่เสี่ยงต่อชีวิต
-
รู้จักชุมชนพื้นเมืองกาปีรูนา (Karipuna) ที่ใช้เทคโนโลยีต่อสู้กับการตัดไม้ทำลายป่า
ชนพื้นเมืองกาปีรูนา (Karipuna) ได้รับชัยชนะหลังจากการต่อสู้เพื่อหยุดการตัดไม้ทำลายป่าในแอมะซอน โดยใช้ข้อมูลและเทคโนโลยีเพื่อสังเกตการณ์ในป่าไม้ รวมถึงการดำเนินการทางกฎหมายเพื่อต่อสู้กับผู้บุกรุกป่า และนี่คือเรื่องราวของพวกเขา
-
“ฉลากการรับรอง FSC” ไม่ได้มีความหมายแบบที่คุณคิด
ผลิตภัณฑ์ที่มีฉลากความยั่งยืนกำกับไม่ได้บ่งบอกเสมอไปว่าสินค้าชนิดนั้นไม่ได้เชื่อมโยงกับการตัดไม้ทำลายป่าและการละเมิดสิทธิมนุษยชน
-
การรับรองขององค์กรจัดการป่าไม้ (FSC) เป็นการทำลายป่าแบบฟอกเขียว
อัมสเตอร์ดัม, เนเธอร์แลนด์ - จากรายงานของกรีนพีซสากลพบว่าบริษัทที่ได้รับการรับรองซึ่งรวมถึงฉลาก FSC (Forest Stewardship Council) นั้นมีความเชื่อมโยงกับการทำลายป่าไม้ ข้อพิพาทเรื่องที่ดิน และการละเมิดสิทธิมนุษยชน
-
เสียงจากบางกลอยถึงทำเนียบฯ และเรื่องเล่าจากผืนป่าแก่งกระจาน
“อยากให้สังคมไทยเข้าใจการที่ว่าพวกเราอยู่ในป่า พวกเราไม่ใช่คนบุกรุก แต่เป็นคนรักษาป่า เพราะถ้าบุกรุกจริงก็แปลว่าเราจะอยู่กับมันไม่ได้”