All articles
-
15 เรื่องที่คุณอาจไม่รู้เกี่ยวกับเชอร์โนบิล
เช้าตรู่วันที่ 26 เมษายน 2529 เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เชอร์โนบิลจำนวนสี่เครื่องระเบิด สหประชาชาติประกาศว่า เป็นหายนะด้านสิ่งแวดล้อมที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของประวัติศาสตร์มนุษยชาติ
-
การแย่งยึดน้ำครั้งใหญ่
ทรัพยากรน้ำจืดโลกที่กำลังลดลงอย่างรวดเร็วมีแนวโน้มร่อยหรอลงอย่างต่อเนื่องหากแผนการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินแห่งใหม่หลายร้อยแห่งทั่วโลกยังคงเดินหน้าซึ่งเป็นแรงกดดันต่อสภาวะภัยแล้งที่รุนแรงและการแย่งชิงทรัพยากรน้ำ
-
หมอกจางๆ หรือควัน – การขยายพื้นที่ปลูกพืชเชิงเดี่ยว
ในช่วงต้นปีที่ผ่านมาคงมีคนจำนวนไม่น้อยที่ได้สัมผัสกับความสดชื่นของทะเลหมอกและฟ้าใสในยามเช้า แต่ทันที่อากาศเย็นหมดลงหมอกควันสีทึมๆ ก็จะเข้ามาแทนที่ หมอกควันจากการเผาในที่โล่งและการขยายพื้นที่ปลูกพืชเชิงเดี่ยวอย่างเช่นข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เป็นสาเหตุหลักของวิกฤตหมอกควันพิษปกคุลมในพื้นที่ภาคเหนือ
-
หายนะภัยนิวเคลียร์ที่ฟุกุชิมะยังวิกฤตต่อเนื่อง กรีนพีซเรียกร้องความรับผิดชอบ
กรีนพีซร่วมรำลึกถึงหายนะภัยนิวเคลียร์ที่ฟุกุชิมะ ในโอกาสครบรอบ 5 ปี พร้อมเรียกร้องให้ผู้เกี่ยวข้องรับผิดชอบต่อปัญหาที่ยังดำรงอยู่
-
Nuclear Scars มรดกจากหายนะภัยเชอร์โนบิลและฟุกุชิมะ
เมื่อหายนะภัยนิวเคลียร์เกิดขึ้นแล้ว เป็นเรื่องยากแสนเข็ญในการจัดการกับการปนเปื้อนกัมมันตภาพรังสี รายงานของกรีนพีซระบุว่าการฟื้นฟูสภาพพื้นที่ที่มีการปนเปื้อนไม่สามารถทำได้สมบูรณ์
-
สุขภาพสูญเสีย บ้านเรือนสูญสิ้น : มรดกแห่งเชอร์โนบิลและฟุกุชิมะ
ผู้รอดชีวิตจากหายนะภัยนิวเคลียร์เชอร์โนบิลยังคงต้องกินอาหารที่ปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีที่เกินกว่าระดับที่ยอมรับได้มาเป็นระยะเวลา 30 ปี หลังเกิดหายนะภัยโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
-
Radiation Reloaded ผลกระทบทางนิเวศวิทยาจากหายนะภัยนิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิจิ
ผลกระทบทางนิเวศวิทยาจากหายนะภัยนิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิจิหลังจาก 5 ปีผ่านไป
-
ต้นทุนที่แท้จริงของถ่านหิน
ในปัจจุบันถ่านหินเกือบร้อยละ 40 ถูกนำไปใช้ในการผลิตไฟฟ้าทั่วโลก อย่างไรก็ตามการเผาไหม้ของถ่านหินเป็นสิ่งที่ให้โทษอย่างร้ายแรงที่สุดต่อโลก เพราะทำลายสิ่งแวดล้อมที่ไม่สามารถสร้างทดแทนได้ รวมถึงสุขภาพของมนุษย์และสังคมต่างๆทั่วโลก
-
ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) จากโรงไฟฟ้าถ่านหินคือภัยคุกคามสุขภาวะของคนไทย
ซูม กรณีการวิพากษ์รายงาน “ต้นทุนชีวิต: โรงไฟฟ้าถ่านหินกับภัยคุกคามต่อสุขภาพของคนไทย” ในประเด็นผลกระทบสุขภาพจากถ่านหินผ่านสื่อต่างๆ และการที่ กฟผ. ยืนยันว่าโรงไฟฟ้าถ่านหิน กฟผ. มีเทคโนโลยีทันสมัยและการควบคุมมลภาวะที่ดีกว่ามาตรฐานกฎหมาย รวมทั้งผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศทุกตัวอยู่ในเกณฑ์ดี จึงไม่เป็นสาเหตุของการเจ็บป่วยและเสียชีวิตก่อนวัยอันควรอย่างแน่นอน กฟผ. ได้อ้างถึงเรื่องฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน แบบหลบเลี่ยงประเด็นโดยบอกว่า "ฝุ่นขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน(PM2.5) ซึ่งรายงานของ กรีนพีซระบุว่า หากมีการก่อสร้างโรงไฟฟ้ากระบี่และเทพาจะทำให้เกิดมลภาวะแพร่กระจายข้ามจังหวัดหรือข้ามประเทศนั้น จากการที่โครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินของ กฟผ. ทั้ง 2 โครงการมีมาตรการควบคุม PM10 และ PM2.5 จากแหล่งผลิตตามมาตรฐานสากลโดยได้กำหนดไว้ในรายงาน EHIA ดังกล่าวมาแล้ว ประกอบกับการตรวจวัดค่าจริงในบรรยากาศรอบโรงไฟฟ้าถ่านหินในปัจจุบันของ กฟผ. จึงมั่นใจได้ว่า โครงการทั้ง 2 จะไม่ทำให้เกิดมลภาวะแพร่กระจายตามแบบจำลองของกรีนพีซ...”
-
มัจจุราชในความเงียบ
เหตุผลที่ทำให้ประเทศในทวีปยุโรปนำพลังงานหมุนเวียนมาใช้แทนพลังงานถ่านหิน ข้อมูลโดยสรุป โรงไฟฟ้าถ่านหินคือแหล่งมลพิษทางอากาศที่ก่อให้เกิดมลภาวะทางอากาศอันเลวร้ายที่สุดต่อทวีปยุโรปและทั่วโลก กรดแก๊ส เขม่าควันไฟ และฝุ่นละอองจากอุตสาหกรรมถ่านหินขนาดใหญ่กลายเป็นฝุ่นละอองขนาดเล็กในอากาศที่สามารถผ่านเข้าไปสู่ปอดและกระแสเลือดของมนุษย์ได้โดยการหายใจ ภาวะมลพิษดังกล่าวเป็นภัยต่อสุขภาพของทารก เด็ก และผู้ใหญ่ ที่เป็นสาเหตุของโรคร้ายเช่น โรคหัวใจล้มเหลว โรคมะเร็งปอด อีกทั้งเพิ่มความเสี่ยงในการเป็นโรคหอบหืด และ โรคทางเดินหายใจอื่นๆ เป็นต้น โลหะหนักจำนวนหลายหมื่นกิโลกรัม เช่น ปรอท ตะกั่ว สารหนู และแคดเมียม ที่ถูกปล่อยออกมาจากโรงไฟฟ้าถ่านหิน ก่อให้เกิดโรคมะเร็งและเป็นอันตรายต่อพัฒนาการการเจริญเติบโตของเด็ก แม้ว่าโรงไฟฟ้าถ่านหินจะก่อให้เกิดปัญหาทางสุขภาพมากมาย แต่รัฐบาลของแต่ละประเทศในยุโรปยังคงไม่สามารถล้มเลิกการใช้โรงไฟฟ้าพลังงานถ่านหินนี้ได้ การใช้ถ่านหินยังคงเพิ่มขึ้นในยุโรปอย่างต่อเนื่องในแต่ละปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 ถึง พ.ศ.…