All articles
-
โคลา-โคล่า, เนสท์เล่, ดานอน, มาร์ส เป๊ปซี่ และยูนิลีเวอร์ลงนามปฏิญาณระดับโลกว่าด้วยพลาสติก แต่ยังคงไม่สนใจกับการลดปริมาณพลาสติก
กรีนพีซเปิดรับต่อเจตนารมย์ระดับโลกว่าด้วยระบบเศรษฐกิจพลาสติกแบบใหม่ (The New Plastics Economy Global Commitment) ของมูลนิธิเอลเลนแมคอาเธอร์ที่ประกาศใช้ในวันนี้ด้วยความระมัดระวัง โดยกล่าวว่าเจตนารมณ์นี้ยืดหยุ่นต่อบริษัทมากเกินไป
-
คำเตือน คาเฟ่นี้ห้ามพลาสติกเข้าร้านจ้า Better Moon x Refill Station
เราอาจเคยเห็นร้านค้าที่มีแนวคิดแบบ Zero Waste ในต่างประเทศมาสักพักแล้ว และเมื่อไม่นานมานี้ก็ได้รู้จักกับ Refill Station ธุรกิจเพื่อสังคมที่เกิดจากการรวมตัวของคนรุ่นใหม่ ซึ่งพวกเขามีความตั้งใจที่จะลดขยะอย่างจริงจัง
-
วิกฤตแห่งความสะดวกสบาย
บริษัทผลิตสินค้าอุปโภคบริโภคที่จำหน่ายเร็ว (Fast-moving consumer goods: FMCG) ทั้งหลายอยู่เบื้องหลังแบบจำลองเศรษฐกิจแบบกินทิ้งกินขว้างที่ก่อวิกฤตมลพิษพลาสติก
-
ผลตรวจตัวอย่างเกลือทั่วโลก กว่า 90 % ปนเปื้อนไมโครพลาสติก
ผลการศึกษาร่วมระหว่างศาสตราจารย์ซึง-คยู คิม แห่งมหาวิทยาลัยแห่งชาติอินชอน และกรีนพีซ เอเชียตะวันออก ในการสุ่มตัวอย่างและตรวจสอบเกลือสมุทรยี่ห้อต่างๆ จากทั่วโลกพบว่า 90 เปอร์เซ็นต์ปนเปื้อนพลาสติกขนาดจิ๋วหรือ “ไมโครพลาสติก” โดยพบว่าเกลือจากแหล่งกำเนิดในเอเชียมีปริมาณไมโครพลาสติกสูงสุด
-
กรีนพีซเปิดเผยผลการตรวจสอบขยะพลาสติกจากแบรนด์สินค้าในประเทศไทย
กรุงเทพฯ, 10 ตุลาคม 2561- กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เปิดเผยรายงานการตรวจสอบแบรนด์สินค้าจากขยะพลาสติก (Brand Audit) ที่เก็บได้จากบริเวณชายหาดวอนนภา จังหวัดชลบุรี เมื่อเดือนกันยายน 2561 ที่ผ่านมา (1) ระบุโคคาโคล่า, เป๊ปซี่โค, ยาคูลท์, ยูนิลีเวอร์, และเนสท์เล่ คือผู้ผลิตแบรนด์ข้ามชาติ 5 อันดับแรก และดัชมิลล์, ซีพี กรุ๊ป,โอสถสภา, บริษัท เสริมสุข จำกัด และเครือสหพัฒน์คือผู้ผลิตแบรนด์ในประเทศ 5 อันดับแรก ที่พบจำนวนขยะพลาสติกมากที่สุด
-
ผลการตรวจสอบแบรนด์ (Brand Audit) จากขยะพลาสติกในประเทศไทย ปี 2561
Break Free From Plastic ได้ยกระดับกิจกรรมทำความสะอาด (clean up) พื้นที่และชายฝั่งทะเลที่ดำเนินการอย่างเป็นประจำทั่วโลกขึ้นไปอีกขั้นหนึ่ง โดยการทำ brand audit ซึ่งมุ่งเน้นตรวจสอบแบรนด์สินค้าต่างๆ ที่มีส่วนรับผิดชอบต่อมลพิษพลาสติกที่พบในสิ่งแวดล้อม
-
พลาสติก 101 : รู้จักพลาสติกในชีวิตประจำวัน
จริงๆแล้วบรรจุภัณฑ์ใช้ครั้งเดียวทิ้งเหล่านี้ประกอบด้วยพลาสติกประเภทไหน รีไซเคิลได้ 100 % หรือเปล่า?
-
“เราต้องสร้างความตระหนักและขจัดสิ่งที่เป็นอุปสรรคในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม” กรณิศ ตันอังสนากุล
หลังจากการเป็นนักวิจัยมากว่า 5 ปี กรณิศจึงนำประสบการณ์ทั้งหมดมาทำงานรณรงค์ให้คนลดใช้พลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวทิ้งเพื่อท้องทะเลของเรา
-
ปัญหาขยะพลาสติกที่ผู้ผลิตต้องร่วมรับผิดชอบ
“อยากกินขนมยี่ห้อนี้มาก แต่ไม่อยากสร้างขยะพลาสติก บางทีก็ตัดปัญหาด้วยการไม่ซื้อกินเลย แต่บางทีก็ทนไม่ไหวต้องซื้อกิน เป็นการสร้างขยะที่เรารู้สึกผิด”
-
ตัดไฟตั้งแต่ต้นลม เราต้องหยุดขยะพลาสติกจากต้นทาง
เมื่อสองปีก่อน ผมเคยมีโอกาสไปสอนหลักสูตรการดำน้ำให้กับเด็กๆในประเทศไทยในหมู่เกาะหนึ่งที่ผมชื่นชอบ ระหว่างที่เราว่ายน้ำอยู่ในหมู่เกาะ ผมสังเกตความเปลี่ยนแปลงบางอย่าง ผมสังเกตเห็นกองขยะพลาสติกลอยอยู่เต็มพื้นที่บริเวณนั้น