All articles
-
กองทุนแสงอาทิตย์ยอดบริจาคทะลุเป้าสู่โรงพยาบาลแสงอาทิตย์แห่งที่7
เปิดตัวแล้วอย่างยิ่งใหญ่ โรงพยาบาลแสงอาทิตย์พระปกเกล้า โรงพยาบาลแสงอาทิตย์แห่งที่ 7 ที่เกิดขึ้นจากเงินบริจาคของประชาชนทั่วประเทศผ่านกองทุนแสงอาทิตย์และโรงพยาบาลแห่งแรกของภาคตะวันออก
-
เปิดตัวโรงพยาบาลแสงอาทิตย์แห่งที่6 จากการบริจาคของประชาชน
นักวิ่งกว่า 600 คนร่วมงานวิ่ง “กินลมชมเมย” เพื่อระดมทุนร่วมกับโรงพยาบาลท่าสองยางสมทบทุนให้กับกองทุนแสงอาทิตย์เพื่อนำมาเป็นค่าใช้จ่ายติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคา(Solar PV Rooftop)
-
กองทุนแสงอาทิตย์ติดตั้งโซลาร์รูฟท็อปเพิ่มอีก 3 โรงพยาบาล ในภาคอีสาน ขับเคลื่อนมาตรการ Net Metering
ประชาชนและนักปั่นจักรยานอิสระ ร่วมติดตั้งระบบโซลาร์รูปท็อปที่โรงพยาบาลทุ่งศรีอุดม จังหวัดอุบลราชธานี โรงพยาบาลภูสิงห์ จังหวัดศรีสะเกษ และโรงพยาบาลชุมแพ จังหวัดขอนแก่นในช่วงวันที่ 18,19 และ 22 ตุลาคม 2562
-
ชาวชุมพรขับเคลื่อนความเป็นธรรมทางพลังงาน ร่วมติดตั้งโซลาร์รูฟท็อปที่โรงพยาบาลหลังสวน
การติดตั้งระบบโซลาร์รูฟท็อปครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของปฏิบัติการช่วงแรกของกองทุนแสงอาทิตย์(Thailand Solar Fund) ที่ใช้เงินบริจาคจากประชาชนทั้งหมดเพื่อสร้างการพึ่งพาตนเองด้านพลังงานให้กับโรงพยาบาลของรัฐ 7 แห่ง
-
อาชีพเก็บแสงอาทิตย์
การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์เป็นการเพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานหมุนเวียนของประเทศ ลดการพึ่งพาการผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงฟอสซิล ลดการนำเข้าพลังงานจากต่างประเทศ และที่สำคัญคือ ก่อให้เกิดการจ้างงานเพิ่มขึ้น อย่างเช่น ช่างติดตั้งโซลาร์เซลล์บนหลังคา ทีมดูแลระบบหลังการติดตั้ง และการรีไซเคิลแผงโซลาร์เซลล์ เป็นต้น
-
รู้จัก 4 ประเทศที่แสงอาทิตย์บนหลังคามีมูลค่า
รู้หรือไม่ว่าการติดแผงโซลาร์เซลล์ในครัวเรือนของเราเองยังสามารถทำรายได้จากการผลิตไฟฟ้าส่วนเกิน ผ่านระบบ Net Metering ระบบ Net Metering นี้นำมาใช้ในหลายประเทศ เรามาดูตัวอย่างของประเทศที่ใช้ระบบ Net Metering นี้กัน
-
Net Metering รับซื้อไฟฟ้าจากแผงเซลแสงอาทิตย์บนหลังคาอย่างเป็นธรรม
มาตรการการรับซื้อไฟฟ้าโซลาร์รูฟท็อป (Net Metering) คือ ระบบหักลบกลบหน่วยอัตโนมัติจากไฟฟ้าที่ผลิตใช้เองจากโซลาร์เซลล์บนหลังคากับไฟฟ้าที่เราใช้จากการไฟฟ้า ซึ่งผู้ใช้ไฟฟ้าจะจ่ายค่าไฟฟ้าตามจำนวนหน่วยไฟฟ้าที่หักลบแล้ว
-
พีดีพีฉบับสิ้นสุดทางเลือก
แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าฉบับล่าสุด (PDP 2018) กำหนดทิศทางการผลิตไฟฟ้าของประเทศไทยเป็นเวลา 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580)
-
มายาคติ: พลังงานหมุนเวียนทำให้ค่าไฟฟ้าสูงขึ้น
กล่าวโดยง่ายคือยอดค่าใช้จ่ายในการใช้ไฟฟ้าของผู้บริโภคนั้นไม่สามารถนำมาเทียบกับประเด็นดังกล่าวได้ เนื่องจากค่าใช้จ่ายในการใช้ไฟฟ้าแปรผันไปตามค่าบริการและขอบเขตปัจจัยที่ต่างกันไปในแต่ละประเทศ