All articles
-
ครั้งแรกในเอเชีย เซเว่น-อีเลฟเว่นในไต้หวันประกาศยุติการใช้พลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้ง
ไต้หวัน, 6พฤษภาคม 2564 - เซเว่น อีเลฟเว่น ไต้หวัน ประกาศยุติการใช้พลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้งภายในปี 2593 นับเป็นเครือข่ายร้านสะดวกซื้อแห่งแรกในเอเชียที่ประกาศลดใช้พลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้ง โดยคาดว่าภายในปีพ.ศ.2566 บรรจุภัณฑ์สินค้าที่เป็นพลาสติกใช้ครั้งเดียวทิ้งจะมีไม่เกิน 20 % ของบรรจุภัณฑ์ที่ใช้ในร้านทั้งหมด
-
โคคา-โคล่า ถึงเวลามุ่งสู่ระบบใช้ซ้ำ
มีโฆษณาของโคคา-โคล่าชิ้นหนึ่งจากปีพ.ศ.2514 ที่ชื่อว่า "Hilltop" หรือที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อ "ฉันอยากซื้อโค้กให้กับโลกทั้งใบ" วิดีโอได้นำเสนอกลุ่มคนหนุ่มสาวที่หลากหลายจากทั่วทุกมุมโลกในมือถือขวดแก้วโค้กยืนร้องเพลงอยู่บนยอดเขา “ฉันอยากจะทำให้โลกเป็นบ้านของทุกคน ... ซื้อโค้กให้กับคนทั้งโลกและอยู่เป็นเพื่อนชิดใกล้ มันคือสิ่งที่โลกต้องการในปัจจุบัน”
-
นักกิจกรรมเรียกร้องให้เนสท์เล่ลดพลาสติกที่การประชุมประจำปีของบริษัท
ก่อนหน้าวันประชุมใหญ่สามัญประจำปีของบริษัทเนสท์เล่ นักกิจกรรมกรีนพีซสวิตเซอร์แลนด์ได้ฉายข้อความที่สำนักงานใหญ่ของบริษัทเนสท์เล่ ในเมืองเวอแว ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ข้อความที่ปรากฏ คือคำว่า “Nestlé Feeding the world with Plastics” หรือ "เนสท์เล่ เลี้ยงโลกด้วยพลาสติก" และย้ำเตือนบริษัทเนสท์เล่ว่าเป็นส่วนสำคัญของวิกฤตมลพิษพลาสติก และวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
-
ความเห็นของกรีนพีซ ประเทศไทย กรณีมาตรการภาษีจูงใจผู้ประกอบการลดขยะพลาสติก
ตามที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประกาศว่ากำลังการหารือกับกระทรวงการคลังถึงมาตรการทางภาษี เพื่อส่งเสริมเพิ่มแรงจูงใจให้ผู้ประกอบการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม หลีกเลี่ยงการก่อขยะพลาสติก
-
“มัดจำภาชนะ” โมเดลนำร่องลดปัญหาขยะพลาสติกของร้านสะดวกซื้อในไต้หวัน
ซูเปอร์มาร์เก็ตหลายแห่งในไต้หวันเริ่มมีนโนยายการลดพลาสติกและขยะให้เป็นศูนย์ เพื่อตอบสนองปัญหานี้ ร้านสะดวกซื้อได้ทดลองเปิดตัวบริการเช่าแก้วสำหรับเครื่องดื่มอย่างชาหรือกาแฟ ในมณฑลเมืองและย่านธุรกิจต่าง ๆ ทั่วไต้หวัน
-
Refilling ร้านรีฟิลเล็ก ๆ ที่อยากเติมความยั่งยืนให้กับชุมชนเกาะพะงัน
“เราอยากให้แนวคิดเรื่องการรีฟิลโด่งดังเหมือนฟูลมูนปาร์ตี้” คุณแฟร์ - เหมือนฝัน อินทร์ทอง เจ้าของร้าน Refilling ร้านรีฟิลเล็ก ๆ บนเกาะพะงันบอกกับผู้เขียนด้วยสายตาที่เป็นประกาย เธอเชื่อว่าการนำภาชนะของตนเองไปซื้อของแทนที่จะซื้อใหม่หรือเรียกง่าย ๆ ว่า รีฟิล (refill) จะช่วยแก้ไขปัญหาขยะพลาสติกได้ โดยเฉพาะขยะจากสินค้าอุปโภค-บริโภค เราขอชวนคุณไปทำความรู้จักกับเธอพร้อมแนวคิดนี้ให้ดีขึ้นกว่าเดิม
-
กรีนพีซพบบรรจุภัณฑ์พลาสติกของเครือซีพีมากที่สุดเป็นปีที่ 2 ติดต่อกันจากการตรวจสอบขยะพลาสติกสองพื้นที่ในประเทศไทย
กรุงเทพฯ, 3 ธันวาคม 2563– กรีนพีซ ประเทศไทยเปิดเผยรายงานการตรวจสอบแบรนด์สินค้าจากขยะพลาสติก(Brand Audit) ที่เก็บได้จากบริเวณดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่ และหาดวอนนภา จังหวัดชลบุรี เมื่อเดือนตุลาคม 2563 ที่ผ่านมา[1] ระบุผู้ผลิตแบรนด์ในประเทศ 5 อันดับแรกที่พบจำนวนขยะพลาสติกมากที่สุด คือ เครือเจริญโภคภัณฑ์ กลุ่มบริษัทดัชมิลล์ โอสถสภา กลุ่มธุรกิจTCP และแลคตาซอย
-
Extended Producer Responsibility (EPR) หลักการขยายความรับผิดชอบของผู้ผลิต
มารู้จักกับ EPR หรือ Extended Producer Responsibility กันดีกว่าว่าจะช่วยให้ลดขยะพลาสติกอย่างมีประสิทธิภาพได้อย่างไร?
-
ความท้าทายและวิกฤตมลพิษพลาสติกของประเทศไทย
แม้จะกล่าวกันว่า พลาสติกไม่ใช่ผู้ร้าย แต่เราต้องไม่ลืมว่า ขยะพลาสติกคือปัญหามลพิษ(plastic pollution) ไม่ใช่ปัญหาขยะ
-
หน้ากากอนามัย 5,500 ตันไปจบลงที่ไหน
กว่าหกเดือนแล้วที่ COVID-19 ได้สร้างหายนะให้กับโลก และหน้ากากอนามัยก็ได้กลายมาเป็นสิ่งจำเป็นเพื่อควบคุมการแพร่ระบาดครั้งประวัติกาลนี้ อย่างไรก็ตาม การเพิ่มขึ้นของการใช้หน้ากากอนามัยชนิดใช้แล้วทิ้งก็ได้สร้างผลกระทบที่ไม่มีใครต้องการต่อสิ่งแวดล้อมด้วยเช่นกัน