All articles
-
รายงานการปลดปล่อยปรอทจากโรงไฟฟ้าถ่านหินในประเทศไทย
มหาวิทยาลัยนเรศวร และ กรีนพีซ ประเทศไทย ขอชวนอ่าน “รายงานการปลดปล่อยปรอทจากโรงไฟฟ้าถ่านหินในประเทศไทย” (Mercury Emission from Coal Plants in Thailand) ที่จะทำให้เรารู้จักปรอทในบริบทของประเทศไทยมากขึ้น สำรวจแนวโน้มของการปนเปื้อนปรอทในอาหาร และเห็นว่าการรั่วไหลของปรอทต่อระบบนิเวศเป็นภัยคุกคามต่อมนุษย์ สังคม และสิ่งแวดล้อมได้อย่างไร
-
กะเบอะดิน กลุ่มชาติพันธุ์และอนาคตผู้ลี้ภัยทางสิ่งแวดล้อม?
การสะสมมลพิษจากโครงการเหมืองถ่านหินอมก๋อยจะส่งผลโดยตรงต่อชุมชนกะเบอะดินทั้งด้านเศรษฐกิจ สุขภาพและวิถีของชนพื้นเมือง
-
‘ผมสูญเสียคนที่ผมรักจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศ ผมอยากให้ผู้ก่อมลพิษต้องรับผิดชอบ’ เปิดเหตุผลที่ เยบ ซาโน ร่วมคัดค้านเชลล์
เพราะฟิลิปปินส์เคยถูกทำลายด้วยวิกฤตสภาพภูมิอากาศ ผมจึงมาที่นี่เพื่อส่งสาส์นให้กับผู้คนว่าวิกฤตสภาพภูมิอากาศเกิดขึ้นจริง และกำลังทำร้ายพวกเรา ไม่ว่าเราจะอยู่ที่ไหนบนโลกแต่วิกฤตสภาพภูมิอากาศจะส่งผลกระทบต่อคุณแน่นอน
-
กลุ่มชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศในฟิลิปปินส์และผู้สนับสนุนเรียกร้อง เชลล์ หยุดการขุดเจาะน้ำมันและชดเชยค่าความสูญเสียและเสียหาย
กลุ่มผู้รอดชีวิตและได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้วที่เกิดขึ้นเพราะวิกฤตสภาพภูมิอากาศ และผู้สนับสนุนจากกรีนพีซ ฟิลิปปินส์ เดินทางมายังสำนักงานใหญ่ของเชลล์ ยื่นจดหมายเรียกร้องให้เชลล์หยุดการแสวงหาผลกำไรจากการทำลายสภาพภูมิอากาศและต้องจ่ายเงินชดเชยค่าความสูญเสียและเสียหายที่เกิดขึ้นจากผลกระทบของวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
-
นักกิจกรรมด้านสภาพภูมิอากาศของกรีนพีซปีนแท่นขุดเจาะน้ำมันขนาดใหญ่ของเชลล์ เรียกร้องให้เชลล์ ‘หยุดขุดเจาะและจ่ายค่าความสูญเสียและความเสียหายจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศ’
หลังจากเชลล์ประกาศแสวงหาน้ำมันเพื่อผลกำไรในมหาสมุทร นักกิจกรรมกรีนพีซสากล 4 คน ขึ้นไปบนแท่นขุดเจาะ ไวท์ มาร์ลิน (White Marlin) ในทะเลตอนเหนือของเกาะคันนารี่ และประท้วงโดยสันติเพื่อคัดค้านการทำลายสภาพภูมิอากาศทั่วโลกที่เกิดขึ้นโดยเชลล์และกลุ่มอุตสาหกรรมฟอสซิล โดยที่บริษัทเหล่านี้ไม่ต้องรับผิดชอบความสูญเสียและเสียหายจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศแม้แต่น้อย
-
เกรียตา ทุนแบร์ยและกลุ่มประชาชนรวมตัวประท้วงแผนการขยายเหมืองถ่านหิน การ์ซไฟเลอร์ ในลูทเซรัท เยอรมนี
พื้นที่ของหมู่บ้านลูทเซรัทคือถ่านหินลิกไนต์ ซึ่งเป็นถ่านหินที่มีคาร์บอนที่ก่อวิกฤตสภาพภูมิอากาศมากที่สุด เหมืองลิกไนต์ไรน์แห่งนี้ถือเป็นแหล่งที่เก็บคาร์บอนและหากขุดขึ้นมาใช้จะเป็นแหล่งกำเนิดของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ใหญ่ที่สุดในยุโรป การที่บริษัทเชื้อเพลิงฟอสซิล RWE วางแผนที่จะทำลายชุมชนเพื่อขยายเหมืองถ่านหินเป็นการกระทำที่คิดถึงผลประโยชน์มาก่อนชีวิตประชาชน
-
ผลวิเคราะห์ล่าสุดระบุ การประชุม World Economic Forum 2022 มีเครื่องบินส่วนตัวปล่อยก๊าซเพิ่มขึ้น 4 เท่า
กลุ่มคนร่ำรวยและมีอำนาจรวมตัวเดินทางไปที่ดาวอสเพื่อเจรจาด้านสภาพภูมิอากาศและความไม่เท่าเทียม แต่กลับใช้วิธีการเดินทางที่ก่อมลพิษมากที่สุดซึ่งก็คือ เครื่องบินเจ็ทส่วนตัว ขณะที่ตอนนี้ยุโรปต้องเจอกับอุณหภูมิที่สูงที่สุดเท่าที่มีการบันทึกไว้แม้จะเป็นช่วงฤดูหนาวในเดือนมกราคม นอกจากนี้ชุมชนทั่วโลกยังต้องเผชิญกับเหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้วซึ่งเป็นผลพวงของวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
-
ความเห็นของกรีนพีซกรณีการแต่งตั้งซีอีโอบริษัทน้ำมันให้เป็นประธาน COP28 ที่ดูไบ
กรีนพีซรู้สึกตระหนกอย่างยิ่งต่อการแต่งตั้งซีอีโอบริษัทน้ำมันให้เป็นผู้นำการเจรจาว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก ถือเป็นแบบอย่างที่เป็นอันตราย สุ่มเสี่ยงต่อความน่าเชื่อถือของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และความไว้วางใจที่สหประชาชาติมอบให้ในนามของประชาชน
-
เมื่อพวกเรา call out เพื่อโลก ประจำปี 2565
เรารวบรวมกิจกรรมรณรงค์เพื่อเปลี่ยนแปลงนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมจากกรีนพีซ ที่ได้ส่งข้อความถึงผู้มีอำนาจจากหลายประเทศทั่วโลกในปี 2565 เพราะพวกเราอยากเห็นความยุติธรรมทางสิ่งแวดล้อม ที่มาพร้อมกับความเป็นธรรมทางสังคม
-
A year in pictures : เล่าเรื่องผ่านรูป ปี 2565 ประเทศไทยเกิดอะไรขึ้นบ้าง
จากสถานการณ์น้ำมันรั่วระยอง ไปจนถึงการประชุม APEC ปี 2565 ประเทศไทยผ่านอะไรมาบ้าง มาดูกัน!