All articles
-
ความเห็นของกรีนพีซ ประเทศไทย กรณีคณะรัฐมนตรีที่มีมติเห็นชอบให้แบนพลาสติกใช้แล้วทิ้งอีก 4 ชนิด
กรุงเทพฯ, 17 กุมภาพันธ์ 2564 — ตามที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบแผนปฏิบัติการด้านการจัดการขยะพลาสติก ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2563 – 2565) โดยมี 2 เป้าหมาย ; เป้าหมายที่ 1 ให้ลดและเลิกใช้พลาสติกใช้แล้วทิ้ง 4 ชนิด คือ ถุงพลาสติกหูหิ้ว ความหนาน้อยกว่า 36 ไมครอน กล่องโฟมบรรจุอาหาร (ไม่รวมถึงโฟมที่ใช้กันกระแทกในภาคอุตสาหกรรม) แก้วพลาสติกความหนาน้อยกว่า 100…
-
หน้ากากอนามัยใช้ครั้งเดียวทิ้งกำลังทำร้ายสัตว์ป่าและสิ่งแวดล้อม
เป็นเรื่องน่าเศร้า เมื่อซากหน้ากากอนามัยที่ถูกโยนทิ้งเหล่านี้ไม่เพียงแต่จะกลายเป็นขยะเพิ่มมลพิษให้กับสวนสาธารณะ แม่น้ำและทะเลทั่วสหราชอาณาจักรเท่านั้น แต่ยังกลายเป็นภยันตรายที่ทำร้าย และคร่าชีวิตเหล่าสัตว์ป่าอีกด้วย
-
กรีนพีซเผย พลาสติกชีวภาพไม่สามารถแก้วิกฤตขยะพลาสติกในจีนได้
รายงานใหม่ของกรีนพีซ เอเชียตะวันออกระบุ การผลิตพลาสติกชีวภาพที่เพิ่มขึ้นไม่สามารถช่วยแก้ปัญหาวิกฤตมลพิษพลาสติกของจีนได้
-
ผลการตรวจสอบแบรนด์(Brand Audit) จากขยะพลาสติกในประเทศไทย ปี 2563
ผลการตรวจสอบแบรนด์(Brand Audit) จากขยะพลาสติกในประเทศไทย ปี 2563
-
กรีนพีซพบบรรจุภัณฑ์พลาสติกของเครือซีพีมากที่สุดเป็นปีที่ 2 ติดต่อกันจากการตรวจสอบขยะพลาสติกสองพื้นที่ในประเทศไทย
กรุงเทพฯ, 3 ธันวาคม 2563– กรีนพีซ ประเทศไทยเปิดเผยรายงานการตรวจสอบแบรนด์สินค้าจากขยะพลาสติก(Brand Audit) ที่เก็บได้จากบริเวณดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่ และหาดวอนนภา จังหวัดชลบุรี เมื่อเดือนตุลาคม 2563 ที่ผ่านมา[1] ระบุผู้ผลิตแบรนด์ในประเทศ 5 อันดับแรกที่พบจำนวนขยะพลาสติกมากที่สุด คือ เครือเจริญโภคภัณฑ์ กลุ่มบริษัทดัชมิลล์ โอสถสภา กลุ่มธุรกิจTCP และแลคตาซอย
-
Extended Producer Responsibility (EPR) หลักการขยายความรับผิดชอบของผู้ผลิต
มารู้จักกับ EPR หรือ Extended Producer Responsibility กันดีกว่าว่าจะช่วยให้ลดขยะพลาสติกอย่างมีประสิทธิภาพได้อย่างไร?
-
ความท้าทายและวิกฤตมลพิษพลาสติกของประเทศไทย
แม้จะกล่าวกันว่า พลาสติกไม่ใช่ผู้ร้าย แต่เราต้องไม่ลืมว่า ขยะพลาสติกคือปัญหามลพิษ(plastic pollution) ไม่ใช่ปัญหาขยะ
-
เมื่อพลาสติกย้อนกลับมาในห่วงโซ่อาหารและซ่อนอยู่ในวัตถุดิบที่เรากิน
รู้หรือไม่ว่าปัจจุบัน วัตถุดิบที่เราใช้ทำอาหารนั้นมีไมโครพลาสติกปนเปื้อนอยู่ งานวิจัยล่าสุดที่ศึกษาเกี่ยวกับผลกระทบของร่างกายจากมลพิษพลาสติกแสดงให้เห็นแล้วว่าวัตถุดิบหลายประเภทที่เรากินมีปริมาณไมโครพลาสติกปนเปื้อน จากขยะที่เราทิ้งในตอนนี้พวกมันกลายเป็นส่วนหนึ่งในห่วงโซ่อาหารของพวกเราแล้ว
-
แถลงการณ์ ข้อเสนอต่อมาตรการห้าม/ควบคุมการนำเข้าเศษพลาสติก และการพัฒนาระบบคัดแยกขยะในประเทศให้ได้คุณภาพดีขึ้น
สืบเนื่องจากที่สาธารณรัฐประชาชนจีนประสบปัญหาการลักลอบนำเข้าสารอันตรายที่ปะปนมากับขยะพลาสติกและขยะอื่นหลายชนิดที่นำมาเป็นวัตถุดิบเพื่อรีไซเคิลและผลิตสิ่งของในประเทศ จนก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างรุนแรง รัฐบาลจีนจึงออกประกาศห้ามนำเข้าขยะจากต่างประเทศเป็นการเร่งด่วน 24 รายการ (ต่อมาประกาศเพิ่มเติมรวมทั้งสิ้น 32 รายการ) มาตรการนี้ส่งผลให้ขยะพลาสติกและขยะอิเล็กทรอนิกส์จำนวนมหาศาลไหลทะลักไปสู่ประเทศอื่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมถึงประเทศไทย
-
ส่องประเด็นขยะพลาสติกล้นเมืองช่วงโควิด ที่ Road map อาจไม่เพียงพอต่อการแก้ปัญหา?
จากที่เคยชินกับการออกไปทำงานที่ออฟฟิศ ก็ต้องเปลี่ยนมาทำงานที่บ้าน เพื่อลดความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัส. COVID-19 แต่แม้จะหลีกเลี่ยงการออกไปนอกบ้าน แต่เรื่องการกินการอยู่ก็ยังเป็นเรื่องสำคัญ การสั่งอาหารจากฟู้ดเดลิเวอรี่จึงตามมา