All articles
-
คำป่าหลาย: จากเหมืองแร่ ทวงคืนผืนป่า สู่วาทกรรม BCG
สกลนคร, 26 กรกฎาคม 2566 - คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร กลุ่มอนุรักษ์น้ำซับคำป่าหลาย จังหวัดมุกดาหาร โครงการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะด้านทรัพยากรแร่ มูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม และกรีนพีซ ประเทศไทย ร่วมจัดงาน “คำป่าหลาย” จากเหมืองแร่ ทวงคืนผืนป่า สู่วาทกรรม BCG : การปิดล้อมอำนาจของผู้หญิงในการเข้าถึงและจัดการทรัพยากร
-
สรุปสถานการณ์ความเป็นธรรมทางสิ่งแวดล้อมครึ่งปีแรก 2566 : ปีแห่งการเปลี่ยนแปลงในไทยท่ามกลางวิกฤตสภาพภูมิอากาศโลก
แม้ว่าในปี 2566 นี้จะเริ่มต้นด้วยสถานการณ์โรคระบาดที่ทุเลาลงและผู้คนได้กลับมาใช้ชีวิตที่เกือบจะเหมือนเดิมอีกครั้ง แต่ทั้งไทยและทั่วโลกยังคงต้องจับตาวิกฤตสภาพภูมิอากาศและสถานการณ์การคัดค้านและเรียกร้องให้กลุ่มบรรษัทผู้ก่อมลพิษหลัก ต้องหยุด การฟอกเขียว และลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากต้นทาง รวมทั้งต้องจ่ายค่าความสูญเสียและเสียหายต่อกลุ่มประเทศที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศอีกด้วย
-
Sportswashing คืออะไร และทำไมถึงเป็นปัญหาใหญ่?
Sportwashing คืออะไร ต่างจาก Greenwashing ไหม ทำไมใครๆก็อยากซื้อสโมสรฟุตบอลพรีเมียร์ลีก และทำไมสิ่งนี้จึงเป็นปัญหาใหญ่?
-
สนธิสัญญาทะเลหลวง : ร่างผ่าน สมาชิกยูเอ็นรับ สถานีต่อไป… รัฐบาล
หลังใช้เวลาพูดคุย ต่อสู้ และต่อรองกันมาหลายสิบปี ล่าสุดเมื่อวันที่ 19 มิถุนายนที่ผ่านมา รัฐบาลที่เข้าร่วมประชุมองค์การสหประชาชาติได้ลงรับสนธิสัญญาทะเลหลวงอย่างเป็นทางการ… สักที
-
เราจะแยกการเรียกร้องเพื่อความเสมอภาคกับการตลาดอย่างไร ในยุคที่เต็มไปด้วย ‘การซักฟอก’
การขับเคลื่อนเพื่อเรียกร้องสิทธิ์เช่นนี้ไม่ใช่เรื่องง่าย ยังมีความท้าทายที่รอพวกเราอยู่อีกมากมาย หนึ่งในนั้นคือกระแสการ ‘ซักฟอก’ หรือเทรนด์การ washing จากอุตสาหกรรมใหญ่ เราจะไม่ตกหลุมพรางการซักฟอกเหล่านี้ มาทำความรู้จัก ‘การซักฟอก’ โดยเฉพาะ การฟอกเขียว (Greenwashing) ที่เกิดขึ้นในองคาพยพการปกป้องสิ่งแวดล้อมและสภาพภูมิอากาศ
-
ภาคประชาสังคมเรียกร้องสหประชาชาติหยุดกลุ่มอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงฟอสซิลที่อาจลดทอนการเจรจาสนธิสัญญาพลาสติกโลก
ภาคประชาสังคมและนักวิทยาศาสตร์กว่า 150 กลุ่มทั่วทุกมุมโลก รวมถึงนักชาติพันธุ์วิทยา นักมานุษยวิทยาและดร.เจน กู๊ดดอลล์ ทูตสันติภาพของสหประชาชาติได้ร่วมลงนามในจดหมายเปิดผนึกถึงสหประชาชาติให้จับตามองอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงฟอสซิลระหว่างการเจรจาสนธิสัญญาพลาสติกโลก เพื่อให้การเจรจาครั้งนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดีและมีประสิทธิภาพ
-
ทำไมเราต้องเรียกร้อง ‘สนธิสัญญาพลาสติกโลก’
เพราะสนธิสัญญาพลาสติกโลกจะเป็นโอกาสที่จะทำให้เรายุติมลพิษพลาสติกที่กำลังเกิดขึ้นได้ ซึ่งก่อนหน้านี้การเจรจาสนธิสัญญาพลาสติกโลกเริ่มขึ้นในปี 2565 และเรามีเวลาจนถึงปี 2567 เพื่อทำให้สนธิสัญญาฉบับนี้เกิดขึ้นจริง มีความเข้มแข็ง มุ่งมั่น และมีผลบังคับใช้อย่างเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้
-
อย่าให้เมืองจมที่รุ่นเรา : นโยบายสิ่งแวดล้อมต้องไม่ลืมเรื่องวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
เพราะไทยเป็นหนึ่งในประเทศ 10 อันดับต้นที่มีความเสี่ยงมากที่สุดในโลกจากผลกระทบของ วิกฤตสภาพภูมิอากาศในระยะยาว กรุงเทพ ฯ เป็น 1 ใน 7 เมือง ที่กำลังเผชิญกับความเสี่ยงจากน้ำท่วมที่มากขึ้นเนื่องจากการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเลและพายุโซนร้อนที่เข้มข้นมากขึ้นอีกด้วย
-
โค้งสุดท้าย! ส่องนโยบายพรรคการเมืองเรื่องสิทธิด้านสิ่งแวดล้อมผ่านเวทีสิทธิมนุษยชน ก่อนเข้าคูหา
เปิดวิสัยทัศน์พรรคการเมือง 12 พรรค ส่องนโยบายสิทธิมนุษยชนผ่านเวทีภาคประชาชน โดย กรีนพีซ ประเทศไทย ได้ฝากกระทู้คำถามถึงทั้ง 12 พรรคการเมือง บนเวที
-
อย่าลืม ‘จะนะ’ และทะเลไทย : เพราะการพัฒนาพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งต้องฟังเสียงชุมชนในพื้นที่
ในการออกแบบนโยบายปกป้องทะเลและมหาสมุทร ผู้ออกแบบหรือพรรคการเมืองควรจะต้องให้ความสำคัญกับสิทธิชุมชนและการกระจายอำนาจสู่ประชาชนในการกำหนดอนาคตตนเอง บนข้อมูลด้านทรัพยากรและหลากหลายทางชีวภาพของทะเลและชายฝั่ง รวมทั้งศักยภาพของชุมชน