All articles
-
นิทรรศการHazilla ปีศาจฝุ่นร้ายข้ามพรมแดนจากการลงทุนข้ามแดน
ปัญหามลพิษข้ามพรมแดนดูจะเป็นสิ่งที่ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ต้องเผชิญร่วมกัน มาเลเซียเป็นอีกประเทศหนึ่งที่ประสบฝุ่นพิษข้ามแดน
-
กฎหมายที่ขาดหายไปใต้ฝุ่นพิษข้ามพรมแดน
กว่า 15 ปีที่ประชาชนในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนต้องทนกับฝุ่นพิษที่ปกคลุมทั่วภูมิภาคเป็นเวลาหลายเดือนทุกช่วงต้นปี จนเกิดทัศนคติหลากหลายวาทกรรมที่สร้างให้คนบนดอยและเกษตรกรเป็นจำเลยผู้ก่อมลพิษของสังคม
-
พูดคุยเรื่องฝุ่นพิษกับ ชัยยนต์ ศรีสมุทร นายกเทศมนตรีแม่สาย ในวันที่ชาวแม่สายได้รับผลกระทบจาก PM2.5 อย่างรุนแรง
เราได้มีโอกาสพูดคุยกับนายกฯ เกี่ยวกับการทำงานของเทศบาลตำบลแม่สายในการรับมือกับฝุ่นพิษ ปัญหาอุปสรรคที่พบ และข้อเรียกร้องของนายกเทศมนตรีในฐานะตัวแทนของประชาชนที่อาศัยอยู่ใน อ.แม่สาย
-
จดหมายเปิดผนึกจากมูลนิธิชีววิถี (BIOTHAI) กลุ่มศึกษาเขตการค้าเสรีภาคประชาชน (FTA Watch) และกรีนพีซ ประเทศไทยถึงเครือเจริญโภคภัณฑ์ กรณีห่วงโซ่อุปทานข้าวโพดเลี้ยงสัตว์และมลพิษทางอากาศข้ามพรมแดน
เครือเจริญโภคภัณฑ์ ต้องเปิดเผยข้อมูล รายละเอียดทั้งห่วงโซ่อุปทานของระบบตรวจสอบย้อนกลับข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (Corn Traceability)
-
สิทธิชุมชน คนอยู่กับป่า ต้องเป็นสิทธิพื้นฐานในการดำรงชีวิต
สิทธิชุมชนในการมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรและอนุรักษ์จะแก้ปัญหาความไม่มั่นคงกรณีที่อยู่อาศัยและทำกินซึ่งเชื่อมโยงอย่างมีนัยยะกับนโยบายการสนับสนุนพืชเกษตรที่ไม่ยั่งยืน สิทธิของคนที่อยู่อาศัยพึ่งพิงและดูแลรักษาผืนป่าอย่างเช่นชุมชนและชนพื้นเมืองจะเป็นยุทธศาสตร์สำคัญของประเทศในการปกป้องผืนป่าและต่อกรกับวิกฤตสภาพภูมิอากาศต่อไป
-
ฝนตกแล้วแต่ฝุ่นพิษยังอยู่! เพราะไม่อยากเจอฝุ่น PM2.5 ทุกปี วิกฤตฝุ่นพิษแม่สายต้องแก้ไขด้วยแนวทางระยะยาว
‘ใน อ.แม่สาย ไม่มีจุดความร้อนเลย แต่ประชาชนในอำเภอกลับได้รับผลกระทบจากฝุ่น PM2.5 จากการเผาอย่างหนัก ปัญหาฝุ่นใน อ.แม่สาย มักจะมาจากมลพิษที่ข้ามพรมแดนมา จึงหาข้อมูลเพิ่มเติมและทราบข้อมูลเรื่องการนำเข้าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ในปี 2565 ไทยนำเข้าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์จากพม่าสูงถึง 14,312 ล้านบาท และจากการพูดคุยแลกเปลี่ยนข้อมูลกับนักวิชาการหลายคนทำให้เราเชื่อว่านี่คือหนึ่งในสาเหตุของมลพิษทางอากาศที่เกิดขึ้นในแม่สาย’ – นายกเอ (ชัยยนตร์ ศรีสมุทร นายกเทศมนตรีตำบลแม่สาย)
-
แถลงการณ์ ทำแล้ว ทำอยู่ ทำอะไร ทำไมปอดถึงพัง: ประชาชนภาคเหนือฟ้องนายกฯ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเหตุไม่ใช้อำนาจทางกฎหมายแก้วิกฤตฝุ่น PM2.5
วันที่ 10 เมษายน 2566 เครือข่ายประชาชนได้ร่วมกันยื่นฟ้องพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์-โอชา นายกรัฐมนตรี คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ คณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) และคณะกรรมการกำกับตลาดทุน ที่ไม่ได้ใช้มาตรการทางกฎหมาย กลไกทางสิทธิมนุษยชน นโยบาย และแผนที่มีอยู่ เพื่อกำหนดมาตรการป้องกันและจัดทำแผนฉุกเฉินเพื่อแก้ไขสถานการณ์วิกฤตฝุ่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-
แถลงการณ์กรีนพีซ ประเทศไทย : รัฐบาลรักษาการณ์ต้องประกาศให้พื้นที่ประสบฝุ่นพิษ PM2.5 เป็นเขตภัยพิบัติทันที เพื่อปกป้องสุขภาพของประชาชน
วิกฤตฝุ่น PM2.5 ที่ภาคเหนือตอนบนตอนนี้คือพิบัติที่ส่งผลต่อประชาชนในวงกว้างอย่างร้ายแรงที่รัฐจะต้องประกาศให้เป็นพื้นที่ประสบภัยพิบัติจากปัญหาฝุ่นพิษเพื่อดูแลสุขภาพของประชาชน
-
อย่าลืมปัญหาฝุ่นพิษ : จะแก้ปัญหาฝุ่นควันภาคเหนือ ต้องหยุดโทษคนตัวเล็ก และกล้าเอาผิดอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์
แม้อากาศสะอาดจะเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของเราทุกคน แต่ดูเหมือนว่าในปัจจุบันอากาศสะอาดกลับกลายเป็นทรัพยากรที่เข้าถึงยากขึ้นเรื่อย ๆ ประชาชนยังคงต้องสูดฝุ่น PM2.5 โดยไม่เห็นวี่แววว่าสถานการณ์จะดีขึ้นแต่อย่างใด
-
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์: การลงทุนข้ามพรมแดนและมลพิษทางอากาศข้ามพรมแดน
ปัญหาที่ไม่ถูกจำกัดด้วยเขตพรมแดนประเทศอย่างมลพิษทางอากาศนั้น ในสถานการณ์ฝุ่นควันพิษที่ภาคเหนือตอนบนของไทยเผชิญเป็นประจำทุกปีมีความเกี่ยวข้องกับมลพิษและการลงทุนข้ามพรมแดนอย่างไร