All articles by รัตนศิริ กิตติก้องนภางค์
-
เมล็ดพันธุ์ การล่าอาณานิคมยุคศตวรรษที่ 21 ผ่านทางความตกลงการค้าของบรรษัทเกษตร
ประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อประเทศที่กำลังพัฒนาที่มีอำนาจในการต่อรองทางเศรษฐกิจด้อยกว่า หรือมีรัฐบาลที่แข็งกร้าวต่อประชาชนแต่อ่อนข้อให้กับประเทศมหาอำนาจ การจดสิทธิบัตรเมล็ดพันธุ์ภายในข้อตกลงทางการค้าระหว่างประเทศจึงถูกมองโดยนักคิดนักเคลื่อนไหวว่าเป็นเสมือนล่าอาณานิคมในยุคศตวรรษที่ 21
-
ไม่ควรจะมีใครถูกบังคับให้สูญหายจากการเรียกร้องสิทธิทางสิ่งแวดล้อม
กี่ชีวิตมาแล้วที่ต้องร่วงหล่นสูญหายจากการปกป้องชุมชนและสิ่งแวดล้อม
-
อุรังอุตัง vs น้ำมันปาล์ม การตัดสินใจของผู้บริโภคที่มีการสูญพันธุ์เป็นเดิมพัน
“Person of the Forest” หรือคนแห่งป่า คือความหมายของชื่ออุรังอุตัง ลิงขนาดใหญ่ขนแดงผู้มีลักษณะและความฉลาดใกล้เคียงกับมนุษย์ อาศัยอยู่ที่เฉพาะป่าฝนเขตร้อนบนเกาะสุมาตราและเกาะบอร์เนียวของอินโดนีเซีย แม้จะฟังดูไกลจากพวกเรา แต่คนแห่งป่ากลุ่มนี้มีความเชื่อมโยงใกล้กับเรามากกว่าที่คิด และในฐานะผู้บริโภค เราอาจมีส่วนในการทำลายบ้านของอุรังอุตังโดยไม่รู้ตัว
-
เชื้อดื้อยา การปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อม และอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์
แม้ว่าโรงพยาบาลและอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์จะมีบทบาทหน้าที่แตกต่างกันในความสำคัญต่อชีวิตของมนุษย์ แต่มีสิ่งหนึ่งที่เชื่อมโยงเหมือนกัน คือ การใช้ยาปฏิชีวนะ สิ่งที่น่ากังวลคือปริมาณในการใช้ยาปฏิชีวนะในฟาร์มอุตสาหกรรมซึ่งเกิดมาจากการใช้อย่างไม่ถูกวิธีและเกินความจำเป็น
-
โพลาร์ วอร์เท็กซ์: ยามเมื่อเครื่องปรับอากาศโลกเริ่มรวน
กรุงเทพฯหนาว เวียดนามหิมะตก จีนหนาวสุดขั้ว สภาพภูมิอากาศเหล่านี้มิได้หมายความว่าโลกของเราหลุดพ้นจากวิกฤตโลกร้อนแล้ว แต่นี่คือหนึ่งในปรากฎการณ์สภาพภูมิอากาศแปรปรวนที่เกี่ยวข้องโดยตรงและเป็นผลกระทบที่เกิดการที่อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกที่สูงขึ้น
-
คนชายขอบอยู่ตรงไหนในกระบวนการ EIA เมื่อเหมืองถ่านหินจะมาถึงบ้าน
คุณรู้ไหมว่า “แมแห้แบถ่านหิน” แปลว่าอะไร หากคุณไม่เข้าใจก็ไม่แปลกอะไรเพราะนี่เป็นภาษาโพล่ง และไม่แปลกอะไรเช่นกันที่ชาวกะเหรี่ยงโปว์จะไม่เข้าใจภาษากลางของไทยทั้งพูดและเขียน
-
จุลชีพ ยาปฏิชีวนะ และจักรวาลในผืนดิน
แต่ละธุลีดินแม้จะดูเป็นเศษผงที่ไร้คุณค่า แต่แท้ที่จริงผืนดินคือจักรวาลของสิ่งมีชีวิตมหาศาลที่เรามองไม่เห็นเรียกว่า จุลชีพ เป็นรากฐานของชีวิตและความสมบูรณ์ของโลก
-
ปุ๊ก-ผณิตา คงสุข: “เราใช้ทรัพยากรทุกวัน เราควรให้อะไรกลับไปได้บ้าง”
“ถ้าเรายังอาบน้ำ แปรงฟันฟอกสบู่ ปัญหาสิ่งแวดล้อมไม่ใช่เรื่องไกลตัวเลยเหมือนเมื่อก่อนที่เราพูดเรื่องโลกร้อนก็ไม่มีใครรู้จัก เว่อร์ คิดไปทำไม จนทุกวันนี้ทุกคนได้เห็นแล้ว แค่ 20 ปีเอง เพราะว่าเราได้ใช้สิ่งแวดล้อม เราจึงต้องชดเชยกลับไปบ้าง ด้วยวิถีทางของเรา”
-
จับตาร่างกฏหมายโลกร้อนของไทย เราสามารถเข้าถึงข้อมูลการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของบริษัทจริงหรือ?
การร่างกฏหมายโลกร้อนที่กำลังเปิดให้มีการรับฟังความคิดเห็นจนถึงต้นเดือนตุลาคม 2563 นี้ เป็นส่วนหนึ่งของแผนการปฏิรูปประเทศภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 กำหนดไว้ว่าภายในปี 2563 ประเทศไทยจะต้องมีร่างแรกของพระราชบัญญัติการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแห่งชาติ (ซึ่งในที่นี้จะเรียกสั้นๆ ว่า กฏหมายโลกร้อน) รวมถึงการมีอนุบัญญัติต่างๆ แต่เมื่อพิจารณารายละเอียดเนื้อหาและความเข้มข้นของการบังคับใช้นั้นจะเพียงพอที่จะแก้ปัญหาโลกร้อนได้หรือไม่ หรือยังสงวนท่าทีที่เกรงใจต่อภาคอุตสาหกรรมนั้นยังเป็นคำถามใหญ่
-
กระทรวงศึกษาฯ อย่าลืมปัญหาอาหารกลางวันโรงเรียน
อาหารที่ไม่ดีต่อสุขภาพของเรา มีเบื้องหลังที่ไม่ดีต่อสุขภาพของโลก และไม่เป็นธรรมต่อผู้ผลิตเช่นกัน อะไรคือปัญหาที่ซุกอยู่ใต้ถาดหลุม