All articles
-
ชนพื้นเมือง ไร่หมุนเวียน และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์: คุยกับจำเลยการเผา พฤ โอโดเชา
ชนพื้นเมืองชาติพันธุ์มักถูกวางไว้ในบริบทจำเลยของสังคมในประเด็นปัญหาการเผาและการทำลายป่า เช่น การตีตรา “ชาวเขาเผาป่า” เพื่อทำไร่เลื่อนลอยว่าเป็นสาเหตุสำคัญของมลพิษทางอากาศและป่าไม้ที่หายไปของภาคเหนือ ทว่าคำกล่าวนี้มีข้อเท็จจริงเช่นไร หรือเป็นเพียงอคติของสังคมต่อคนชายขอบที่มีความเป็นอื่นอย่างกลุ่มชนพื้นเมืองชาติพันธุ์
-
2565 อาหารแพง ป่าและความหลากหลายทางชีวภาพที่ถูกคุกคาม
ในปี 2565 ดูเหมือนว่าสถานการณ์ในระบบอาหารปีนี้จะยังมีหลายสัญญาณที่น่ากังวลและการเปลี่ยนแปลงที่น่าจับตามอง สิ่งที่เราต้องคิดหลังจากนี้คือเราจะเลือกเรียนรู้สิ่งเหล่านี้และกำหนดทิศทางระบบอาหารของโลกอย่างไรในปีหน้าและปีต่อ ๆ ไป
-
เมื่อพวกเรา call out เพื่อโลก ประจำปี 2565
เรารวบรวมกิจกรรมรณรงค์เพื่อเปลี่ยนแปลงนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมจากกรีนพีซ ที่ได้ส่งข้อความถึงผู้มีอำนาจจากหลายประเทศทั่วโลกในปี 2565 เพราะพวกเราอยากเห็นความยุติธรรมทางสิ่งแวดล้อม ที่มาพร้อมกับความเป็นธรรมทางสังคม
-
A year in pictures : เล่าเรื่องผ่านรูป ปี 2565 ประเทศไทยเกิดอะไรขึ้นบ้าง
จากสถานการณ์น้ำมันรั่วระยอง ไปจนถึงการประชุม APEC ปี 2565 ประเทศไทยผ่านอะไรมาบ้าง มาดูกัน!
-
สรุปสถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมและสิทธิมนุษยชนท้ายปี 2565 : การปกป้องสิ่งแวดล้อมอย่างแท้จริง โลกจะต้องหยุดฟอกเขียว
ปีนี้เกิดการพูดคุยและถกเถียงประเด็นเรื่องสิ่งแวดล้อมในเชิงโครงสร้างมากขึ้นอย่างเห็นได้ชัด ผู้คนเชื่อมโยงปัญหาสิ่งแวดล้อมปัจจัยอื่น ๆ ทั้งเรื่องสิทธิมนุษยชน และการบริหารจัดการบ้านเมือง รวมถึงการออกนโยบายที่จะเป็นตัวชี้วัดว่าทรัพยากรธรรมชาติจะได้รับการปกป้องหรือถูกทำลาย และเป็นปีที่คำว่า ‘ฟอกเขียว (Greewashing)’ กลายเป็นที่รู้จักแพร่หลาย
-
เปิดข้อสรุปการปกป้องระบบนิเวศในการประชุม CBD COP15
การประชุมสมัชชาภาคีว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ หรือ UN Convention on Biological Diversity (CBD COP15) จบลงพร้อมกับมติข้อตกลง ซึ่งเป็นที่รู้จักกันในชื่อ ความตกลงคุนหมิง - มอนทรีออล และแม้ว่าข้อตกลงนี้จะเป็นข้อตกลงสำคัญในการปกป้องความหลากหลายทางชีวภาพแต่ก็ยังเป็นเพียงจุดเริ่มต้นของการทำงานอย่างหนักเพื่อป้องกันโลกไม่ให้เกิดการสูญพันธุ์ครั้งใหญ่เท่านั้น
-
ข้อสรุป CBD COP15 ตระหนักถึงการปกป้องระบบนิเวศของชนพื้นเมือง แต่ยังคงไม่หยุดยั้งภัยคุกคามที่ทำให้เกิดการสูญพันธุ์ครั้งใหญ่
มอนทรีออล, แคนาดา – ตามมติสุดท้ายในการประชุมเพื่อปกป้องความหลากหลายทางชีวภาพ CBD COP15 กรีนพีซมีความยินดีที่ได้เห็นว่าการประชุมดังกล่าวยอมรับสิทธิ บทบาท อาณาเขตและภูมิปัญญาของชนพื้นเมือง ในการปกป้องผืนดิน ผืนน้ำ เพื่อความหลากหลายทางชีวภาพอย่างมีประสิทธิภาพ
-
‘เหมือนแต่ไม่เหมือน’ การประชุมเพื่อความหลากหลายทางชีวภาพ CBD COP15 ที่น่าจับตาไม่แพ้การประชุมด้านสภาพภูมิอากาศ COP27
การประชุมสมัชชาภาคีว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ หรือ UN Convention on Biological Diversity (CBD COP15) ก็ถูกจัดขึ้นเดือนธันวาคมปีนี้ ที่มอนทรีออล แคนาดา โดยจะมีกลุ่มผู้นำจากประเทศต่างๆ เดินทางมาประชุมและเจรจาเพื่อหาทางปกป้องระบบนิเวศที่ถูกทำลายและการปกป้องสิ่งมีชีวิตจากการสูญพันธุ์
-
4 ปีหลังแอมะซอนถูกทำลายหนัก เราจะมีหวังฟื้นฟูป่าในอนาคตหรือไม่?
จากข้อมูลตั้งแต่เดือน กรกฎาคม 2021 ไปจนถึงเดือนสิงหาคม 2022 มีพื้นที่ป่าแอมะซอนถูกทำลายไปเทียบเท่าสนามฟุตบอล 1.6 ล้านสนาม หมอกควันปริมาณมากจากการไฟป่ากลายเป็นผลกระทบต่อสุขภาพกับชุมชนท้องถิ่นที่อาศัยอยู่ในบริเวณใกล้เคียง ยิ่งไปกว่านั้น พวกเขาต้องสูดดมควันพิษซึ่งเป็นอันตรายในขณะที่ก็ต้องเผชิญกับสถานการณ์ที่เลวร้ายจากการระบาดของโรคโควิด - 19 อีกด้วย
-
กรีนพีซเรียกร้องให้กลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว สนับสนุนด้านการเงินเพื่อปกป้องความหลากหลายทางชีวภาพผ่านในการประชุม COP15
มอนทรีออล แคนาดา – การสนับสนุนด้านการเงินให้กับกลุ่มประเทศกำลังพัฒนา กลุ่มชนพื้นเมืองและกลุ่มประเทศซีกโลกใต้ เป็นปัจจัยสำคัญและเป็นข้อเจรจาในการประชุมสมัชชาภาคีว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ หรือ UN Convention on Biological Diversity (CBD COP15) ที่เกิดขึ้นที่มอนทรีออล อย่างไรก็ตาม ขณะนี้กลุ่มประเทศที่ร่ำรวยยังคงไม่ตกลงที่จะสนับสนุนด้านการเงินเพื่อทำให้เป้าหมายการปกป้องความหลากหลายทางชีวภาพทั่วโลกสำเร็จ หากไม่มีกองทุนก็อาจทำให้แผนปฏิบัติตามเพื่อบรรลุเป้าหมายเป็นไปได้ยากขึ้น