All articles
-
สรุปเสวนา ‘ถ่านหินกับรัฐบาล ใครจะปลดระวางก่อน’ #ปลดระวางถ่านหิน
สรุปจากเสวนา ‘ถ่านหินกับรัฐบาล ใครปลดระวางก่อนกัน?’ วงพูดคุยที่ชวนตัวแทนเยาวชนในพื้นที่ คนทำงานด้านกฎหมาย นักวิจัยนโยบาย และกรีนพีซ มาร่วมกันพูดคุยถึงปัญหา การต่อสู้ ระหว่างกระบวนการการที่ออกแบบเพื่อรับฟังความคิดเห็นของประชาชนที่อาจได้รับผลกระทบจากอุตสาหกรรมถ่านหิน
-
สรุปจากเสวนา ‘เจาะลึกเบื้องหลังการใช้ถ่านหินในไทย ปลดระวางได้ไหมในชาตินี้?!’ ตอน อยุธยาเมืองท่าถ่านหิน
‘เจาะลึกเบื้องหลังการใช้ถ่านหินในไทย ปลดระวางได้ไหมในชาตินี้?!’ เสวนาจาก Greenpeace Thailand ชวน ‘เริงชัย คงเมือง’ ช่างภาพสารคดี ‘อำนาจ อ่วมภักดี’ ตัวแทนกลุ่มรักบ้านเกิดและคณะกรรมการแก้ไขปัญหาระดับจังหวัด และจริยา เสนพงศ์ หัวหน้างานรณรงค์เพื่อการเปลี่ยนผ่านทางพลังงาน กรีนพีซ ประเทศไทย มาพูดคุยถึงปัญหาจากถ่านหินที่คนในพื้นที่ได้รับผลกระทบมาแล้วกว่า 20 ปี
-
ประชากร 61 เมืองใหญ่ทั่วโลกกำลังได้รับผลกระทบด้านสุขภาพจากถ่านหิน
รายงานจากเครือข่าย C40 Cities Climate Leadership Group ระบุว่าจากแบบจำลองและวิจัยได้แสดงให้เห็นถึงผลกระทบของถ่านหินต่อสุขภาพของประชากรในเมืองใหญ่ใน 61 เมืองทั่วโลกในช่วงปี 2563-2573
-
เอกสารสรุปสำหรับสื่อมวลชน : เบื้องหลังการนำเข้าถ่านหิน และข้อเสนอการเปลี่ยนผ่านพลังงานที่ยั่งยืนและเป็นธรรมในประเทศไทย
การใช้ถ่านหินนำเข้าในภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น โดยสัดส่วนการใช้ถ่านหินในภาคอุตสาหกรรม เพิ่มสูงขึ้นเมื่อเทียบกับภาคการผลิตไฟฟ้าจากร้อยละ 23 ในปี 2533 เป็นร้อยละ 39 ในปี 2562
-
เบื้องหลังการนำเข้าถ่านหิน และข้อเสนอการเปลี่ยนผ่านพลังงานที่ยั่งยืนและเป็นธรรมในประเทศไทย
การนำเข้าถ่านหินมายังประเทศไทยเพิ่มปริมาณขึ้นในช่วงกลาง คริสตทศวรรษที่ 1990 โดยมีปริมาณสูงกว่าการใช้ถ่านหินทั้งหมดภายในประเทศนับตั้งแต่ปี 2557 เป็นต้นมา ในปี 2562 ไทยนำเข้าถ่านหินในปริมาณ 21.7 ล้านตัน คิดเป็นร้อยละ 60.8 ของการใช้ถ่านหินทั้งหมด 35 ล้านตันในปีนั้น
-
กรีนพีซวิเคราะห์สถานการณ์มลพิษทางอากาศตามค่าแนะนำคุณภาพอากาศใหม่ขององค์การอนามัยโลก
วันนี้องค์การอนามัยโลก (WHO) ปรับค่าแนะนำคุณภาพอากาศเป็นครั้งแรกในรอบ 15 ปี จากการวิเคราะห์ของกรีนพีซ อินเดีย โดยใช้ข้อมูลจาก IQAir ชี้ให้เห็นว่า ในปี 2563 มลพิษทางอากาศเมืองใหญ่ทั่วโลก ส่วนใหญ่มีความเข้มข้นเกินค่าแนะนำขององค์การอนามัยโลก
-
เอกสารสรุปสำหรับสื่อมวลชน: ค่าแนะนำคุณภาพอากาศขององค์การอนามัยโลก (WHO)
ดาวน์โหลดเอกสาร ค่าแนะนำคุณภาพอากาศขององค์การอนามัยโลก (WHO)
-
ข้อมูลสรุป : ประเทศไทยและค่าแนะนำคุณภาพอากาศขององค์การอนามัยโลก
ข้อมูลสรุป : ประเทศไทยและค่าแนะนำคุณภาพอากาศขององค์การอนามัยโลก
-
‘อากาศสะอาดคือสิทธิของประชาชน’ ถอดบทเรียนประชาชนอินโดนีเซียชนะคดีทวงคืนอากาศบริสุทธิ์จากรัฐ
ย้อนกลับไปเดือนกรกฎาคม ปี 2562 ตัวแทนภาคประชาชนจากหลากหลายอาชีพทั้งวินมอเตอร์ไซค์ นักธุรกิจ ข้าราชการและนักกิจกรรมรวมกว่า 32 คนได้ยื่นฟ้องรัฐบาลว่าด้วยมลพิษทางอากาศเพื่อให้ภาครัฐขยับและจัดการกับปัญหาดังกล่าว โดยเฉพาะในกรุงจาการ์ต้าที่มีคนอาศัยอยู่กว่า 10 ล้านคน
-
ในวันอากาศสะอาดสากล สิทธิในการหายใจของคนไทยยังคงถูกละเมิด
วันนี้ 7 กันยายน 2564 เป็นปีที่สองที่ประชาคมนานาชาติร่วมรณรงค์เพื่ออากาศดีทั่วโลกโดยใช้หัวข้อว่า “อากาศสะอาด โลกแข็งแรง #HealthyAirHealthyPlanet ต่อไปนี้คือสิ่งที่รัฐบาลไทยมอบให้ประชาชนในวันอากาศสะอาดสากล