All articles
-
32 ปี หลังเชอร์โนบิล และโครงการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ลอยน้ำ
32 ปีก่อนหน้านี้ อุบัติเหตุนิวเคลียร์กลางเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลก ทำให้เกิดการปนเปื้อนพื้นที่ขนาดใหญ่ในทวีปยุโรป
-
สิทธิมนุษยชน: สิทธิของการมีอากาศที่ดีหายใจ
เราทุกคนมีสิทธิที่จะหายใจเอาอากาศที่ดีเข้าไป การใช้ชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่มีอากาศบริสุทธิ์คือสิทธิขั้นพื้นฐานของความเป็นมนุษย์
-
สตรีผู้กำลังจะทวงความยุติธรรมจากภัยพิบัติฟุกุชิมะได้สำเร็จ
คันโนะได้เล่าให้พวกเราฟังถึงเหตุการณ์เมื่อเจ็ดปีก่อนที่พลิกชะตาชีวิตของเธอ ครอบครัวของเธอ และอีกหลายพันชีวิตในเมืองนี้
-
รายงานฉบับใหม่ระบุการพัฒนาโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินทั่วโลกลดลงเป็นปีที่สองติดต่อกัน
ข้อมูลจากรายงานฉบับล่าสุดที่นำเสนอโดยกรีนพีซ เซียราคลับและโคลสวอร์ม ระบุว่า เป็นปีที่สองติดต่อกัน ที่จำนวนโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินทั่วโลกที่อยู่ในระหว่างการพัฒนาลดจำนวนลงอย่างรวดเร็วในปี พ.ศ.2560 โดยที่จีนและอินเดียมีจำนวนลดลงมากที่สุด
-
รุ่งเรืองแล้วร่วงโรย 2561
เป็นระยะเวลา 2 ปีต่อเนื่องมาแล้ว ที่ข้อบ่งชี้สำคัญต่าง ๆ ซึ่งเกี่ยวข้องกับการขยายตัวของการผลิตไฟฟ้าจากถ่านหินนั้นลดลงอย่างฮวบฮาบในปี 2560 ไม่ว่าจะเป็นโรงไฟฟ้าถ่านหินที่อยู่ในระยะวางแผนก่อสร้าง เริ่มดำเนินการก่อสร้าง และเสร็จสิ้นการก่อสร้างแล้ว
-
ฝุ่นพิษ PM2.5 ที่ปกคลุมกรุงเทพฯ มาจากไหนได้อีก : มลพิษทางอากาศข้ามพรมแดน ?
ทำไม พื้นที่กรุงเทพฯ จึงต้องเผชิญกับวิกฤตฝุ่น PM2.5 ในระดับที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพอีกหลังจากเวลาผ่านไปได้ไม่นาน
-
ไฟฟ้าพลังแดดของคนปลายสาย
แม้ยังเป็นก้าวแรกๆ ของคนปลายสายที่พยายามสร้างความมั่นคงทางไฟฟ้าให้ตัวเอง ไม่มีใครรู้ว่าต้องเดินไกลแค่ไหนจึงจะถึงสิ่งที่มุ่งหวัง แต่อย่างน้อยที่สุดพวกเขาก็เริ่มต้นแล้ว นั่นย่อมหมายถึงการขยับเข้าใกล้ปลายทางมากขึ้นอีกหน่อย...และมากกว่าการวาดฝันโดยไม่ลงมืออะไรอย่างแน่นอน
-
นักกิจกรรมกรีนพีซมอบนาฬิกาฝุ่นถึงนายกฯ เรียกร้องให้เร่งแก้วิกฤตฝุ่น PM2.5
นาฬิกาฝุ่นเป็นสิ่งเตือนใจนายกรัฐมนตรีถึงความเร่งด่วนของปัญหา
-
กรีนพีซ เรียกร้องให้นายกรัฐมนตรีแก้ปัญหามลพิษทางอากาศ
นักกิจกรรมกรีนพีซ นำเสนอนาฬิกาทรายที่บรรจุฝุ่นที่เก็บรวบรวมจากพื้นที่ปนเปื้อนมลพิษจากในกรุงเทพฯ และ จากหลายจังหวัด ที่ได้รับผลกระทบจากมลพิษทางอากาศ เพื่อส่งมอบให้กับตัวแทนนายกรัฐมนตรีบริเวณด้านหน้าสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.)
-
ดัชนีคุณภาพอากาศ PM2.5 และการรายงานคุณภาพอากาศที่ทันสมัย ทำไมจะทำไม่ได้?
ท่ามกลางวิกฤตมลพิษทางอากาศที่กำลังจะกลายเป็นวิกฤตด้านสาธารณสุข เรามักจะได้ยินหน่วยงานของรัฐบอกว่า กรุงเทพมหานครและประเทศไทยยังไม่พร้อมที่จะมีดัชนีคุณภาพอากาศ PM2.5 และการรายงานคุณภาพอากาศที่ทันสมัย ต้องรอไปอีก 2-3 ปี