All articles
-
มรดกแห่งเจริญ 16 ปีแห่งการจากไป ก่อกำเนิดอีกหลายร้อยความเข้มแข็งในชุมชนประจวบฯ
เสียงปืน 9 นัดจากปืนสองกระบอก ในคืนวันที่ 21 มิถุนายน 2547 ที่ปลิดชีวิตนักสู้เพื่อชุมชนที่ชื่อเจริญ วัดอักษร ยังคงดังก้องในใจชาวประจวบคีรีขันธ์ และชาวไทยผู้รักสิ่งแวดล้อมทั้งประเทศ ปีนี้เป็นปีที่ 13 แล้วที่เจริญ วัดอักษร นักสู้เพื่อชุมชนกลุ่มรักษ์ท้องถิ่นบ่อนอก ผู้คัดค้านโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหิน ได้จากไป การสูญเสียนักสู้คนสำคัญของประจวบฯ ไม่ได้นำมาสู่จุดสิ้นสุดของการต่อสู้เพื่อปกป้องสิ่งแวดล้อม แต่กลับยิ่งก่อให้เกิดนักสู้แห่งประจวบคีรีขันธ์อีกหลายร้อยคน สานต่อความเข้มแข็งในชุมชนไม่เสื่อมคลาย
-
พลังงานนิวเคลียร์และการล่มสลายของสังคม
เมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2497 บนเกาะบิกินี่ อะทอลล์ (Bikini Atoll) เกาะที่ตั้งอยู่ในหมู่เกาะมาร์แชลล์ เป็นเกาะที่กองทัพสหรัฐได้ปล่อยระเบิดไฮโดรเจนลูกแรกของโลก ซึ่งมีอานุภาพรุนแรงกว่าระเบิดที่ฮิโรชิมะและนางาซากิกว่าพันเท่า กัมมันตรังสีถูกพัดพาลงมาทางทิศตะวันออกเฉียงใต้และทำให้ประชาชนของเกาะ Rongelap และ Utirik และลูกเรือ Fukuryu Maru ถูกอาบรังสี
-
ถ่านหิน: วิกฤตสุขภาพในเมียนมาร์
จากการสำรวจขององค์การอนามัยโลก (WHO) ประเทศเมียนมาร์เป็นประเทศที่มีปริมาณมลพิษทางอากาศสูงที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กล่าวคือ เมืองในอาเซียนที่มีมลพิษฝุ่นละอองขนาดเล็กสูงสุด 10 อันดับแรกนั้น คือเมืองในประเทศเมียนมาร์
-
ดร.พญ.ฉันทนา ผดุงทศ: เราทำอะไรได้มากกว่าแค่ใส่หน้ากาก?
แต่ละครั้งที่คุณเจ็บป่วย เคยสงสัยไหมว่าอาการที่คุณเป็นนั้นเกิดขึ้นจากสิ่งแวดล้อมหรือไม่
-
กู้โลก !? คนขี้เกียจก็ทำได้
ทุกการเปลี่ยนแปลงไม่ว่าจะระดับเล็ก หรือระดับโลกต่างเริ่มต้นที่คนตัวเล็ก ๆ อย่างไร ดังนั้นทุกครั้งที่เราลงมือทำอะไรจะเป็นการสร้างการเปลี่ยนแปลง และขยายผลกระทบไปในวงกว้างได้
-
5 เคล็ดลับสู่การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เพื่อให้การเดินทางดีต่อใจและดีต่อโลกด้วยเช่นกัน
เชื่อว่ามีคนจำนวนไม่น้อยที่อยากให้วันหยุดมาถึงเร็ว ๆ เพื่อที่จะได้ออกไปเที่ยว และคงมีคนจำนวนไม่น้อยเช่นกันที่กำลังเก็บเงินและวันลาเพื่อให้สามารถเดินทางไปยังจุดหมายในฝัน แต่คุณรู้หรือไม่ว่าการเดินทางนั้นเป็นได้มากกว่าการไปให้ถึงที่หมายเพราะมันยังสามารถนำไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืนให้กับโลกของเราได้
-
เมืองใหญ่ของไทย ชีวิตที่ต้องแลกกับวิกฤตฝุ่นพิษ PM2.5
ในเมืองที่เราอยู่ตอนนี้มีมลพิษทางอากาศมากน้อยแค่ไหน? ที่เราบอกว่าวันนี้อากาศดีนะ ที่จริงแล้วอากาศดีจริงหรือเปล่า?
-
กรีนพีซชี้เมืองใหญ่ของไทยในปี 2559 ยังเจอวิกฤตมลพิษฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน(PM2.5) โดยไม่มีเป้าหมายรับมือ เรียกร้องกรมควบคุมมลพิษยกระดับดัชนีคุณภาพอากาศ
กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้จัดถ่ายทอดสดผ่านทางเฟซบุ๊ค เปิดเผยรายงานการจัดอันดับเมืองที่มีมลพิษฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) ปี 2559 โดยต่อเนื่องจากการจัดอันดับที่ได้นำเสนอครั้งแรกในปีที่ผ่านมา
-
การจัดลําดับเมืองที่มีปัญหามลพิษทางอากาศ ปี 2559
รายงานการจัดลำดับนี้ประมวลผลจากข้อมูลของสถานีตรวจวัดของกรมควบคุมมลพิษ 19 สถานีทั่ว ประเทศ เพื่อหยิบยกประเด็นท้าทายของการจัดการมลพิษฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) 1 และนำเสนอข้อเรียกร้องเชิงนโยบายและแนวทางจัดการในทางปฏิบัติต่อหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง