All articles
-
กลุ่มผู้ประกอบการเกาะพยามและเครือข่ายภาคประชาชนระนอง-ชุมพรจัดงาน “ดินเนอร์ ทอล์ค” ห่วงโครงการแลนด์บริดจ์กระทบธรรมชาติ-วิถีชีวิต
ระนอง, 28 เมษายน 2568 – เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2568 ที่ผ่านมากลุ่มผู้ประกอบการเกาะพยาม จังหวัดระนองร่วมกับเครือข่ายภาคประชาชนระนอง-ชุมพร จำนวนกว่า 60 คน จัดงาน “ดินเนอร์ ทอล์ค” ในหัวข้อ “ถกอนาคตเกาะพยาม ท่ามกลางคลื่นลมการเปลี่ยนแปลง” เพื่อแลกเปลี่ยนความเห็นและหาทางรับมือกับโครงการก่อสร้างท่าเรือน้ำลึกและแลนด์บริดจ์ชุมพร–ระนอง ที่อาจส่งผลกระทบรุนแรงต่อระบบนิเวศ การท่องเที่ยว และวิถีชีวิตดั้งเดิม
-
เมื่อ โดนัลด์ ทรัมป์ไม่เชื่อ ‘ภาวะโลกเดือด’ แล้วการรณรงค์ด้านสภาพภูมิอากาศล่ะ?
นอกจากการสร้างความปั่นป่วนให้ทั่วโลกด้วยนโยบายกำแพงภาษีของประธานาธิบดี โดนัลด์ ทรัมป์ ยังมีอีกกรณีหนึ่งที่ประธานาธิบดีและคณะบริหารชุดนี้เข้าไปสร้างความปั่นป่วนให้เกิดไปทั่วโลกนั่นคือประเด็นวิกฤตสภาพภูมิอากาศและการรณรงค์ด้านสิ่งแวดล้อม
-
ไทยอนุมัติลงนามปกป้องความหลากหลายทางชีวภาพในสนธิสัญญาทะเลหลวง นับเป็นก้าวสำคัญในการปกป้องมหาสมุทรโลก
กรีนพีซ ประเทศไทยขอแสดงความยินดีที่รัฐบาลไทยมีมติอนุมัติการลงนามความตกลงภายใต้อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเลเกี่ยวกับการอนุรักษ์และการใช้อย่างยั่งยืนซึ่งความหลากหลายทางชีวภาพทางทะเลในพื้นที่นอกเขตอำนาจรัฐ
-
พูดคุยกับ วรรณิศา จันทร์หอม กลุ่มจะนะรักษ์ถิ่น และการใช้ศิลปะ เกียวทาคุสื่อสารเรื่องราวของชุมชน
“เราไม่ได้มองแค่รายได้ เพราะจริง ๆ การได้สื่อสารเรื่องราวของชุมชนมันมากกว่ารายได้”
-
อุณหภูมิมหาสมุทรออสเตรเลียร้อนขึ้นเป็นประวัติการณ์ เกิดอะไรขึ้นเมื่อมหาสมุทรกลายเป็นหม้อต้มน้ำเดือด
ล่าสุด อุณหภูมิมหาสมุทรออสเตรเลียสูงขึ้นจนอยู่ในภาวะฉุกเฉิน โดยปีที่ผ่านมา (2567) อุณหภูมิผิวน้ำของทะเลสูงจนทำลายสถิติที่เคยบันทึกได้ ถือเป็นปีที่ร้อนที่สุดสำหรับมหาสมุทรออสเตรเลีย ซึ่งสถิติดังกล่าวไม่ได้เป็นเพียงตัวเลขชี้วัด แต่บ่งบอกถึงวิกฤตที่เป็นคลื่นใต้น้ำ คุกคามชีวิตของสัตว์ทะเล แนวปะการัง และวิถีชีวิตชุมชนชายฝั่งซึ่งพึ่งพาทะเลอันอุดมสมบูรณ์
-
กรีนพีซกังวล ‘อันตรายจากสารพิษหลายชนิด’ จากเหตุเรือชนกันในทะเลเหนือ
กรีนพีซแสดงความกังวลเกี่ยวกับภัยคุกคามที่อาจเกิดขึ้นต่อสิ่งมีชีวิตในทะเล อันเนื่องมาจากสินค้าและน้ำมันเตา (Bunker fuel) ของเรือบรรทุกสารเคมีและเรือบรรทุกตู้คอนเทนเนอร์เกิดอุบัติเหตุชนกันนอกชายฝั่งยอร์กเชียร์ (Yorkshire) ของอังกฤษ ใกล้กับพื้นที่ที่มีความอ่อนไหวทางสิ่งแวดล้อมสูง
-
เครือข่ายประชาชนไม่เอากฎหมายเขตเศรษฐกิจพิเศษ ยื่นหนังสือคัดค้าน “กฎหมายพิเศษ เพื่อคนพิเศษ”
เครือข่ายประชาชนไม่เอากฎหมายเขตเศรษฐกิจพิเศษ ในฐานะพื้นที่กลางขององค์กรชุมชนในพื้นที่ภาคใต้ 14 จังหวัด และองค์กรเครือข่ายภาคีระหว่างภูมิภาค รวมทั้งสิ้น 94 องค์กร ยื่นหนังสือคัดค้านการร่างพระราชบัญญัติระเบียงเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้ (Southern Economic Corridor: SEC)
-
แถลงการณ์กรีนพีซ : ครบรอบ 14 ปี อุบัติภัยนิวเคลียร์ฟุกุชิมะ
ครบรอบ 14 ปี หลังเหตุการณ์แผ่นดินไหวครั้งใหญ่ทางตะวันออกของญี่ปุ่นซึ่งทำให้เกิดเหตุการณ์อุบัติภัยโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะ ไดอิจิ ตามมา กรีนพีซ ญี่ปุ่น ขอแสดงความเสียใจอย่างสุดซึ้งต่อผู้ประสบภัยและครอบครัวที่ยังคงต้องทนทุกข์หลังเหตุการณ์ภัยพิบัติครั้งใหญ่นี้
-
“Land bridge Effect ผลกระทบโครงการท่าเรือน้ำลึกแลนด์บริดจ์ชุมพร ระนอง” เปิดข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพและภัยคุกคามต่อชุมชนชายฝั่ง
ชุดข้อมูลนี้เป็นชุดข้อมูลที่นักวิชาการร่วมทำงานเก็บข้อมูลกับชุมชนเพื่อแสดงให้เห็นถึงข้อห่วงกังวลต่อผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมและวิถีชีวิตของชุมชนที่อาจเกิดขึ้นหากเกิดโครงการท่าเรือน้ำลึก Land Bridgeใน จ.ชุมพรและ จ.ระนอง
-
UN จัดประชุม CBD COP16 อีกครั้ง สรุปประเด็นกองทุนพิทักษ์ระบบนิเวศก่อนกำหนดมาตรการคุ้มครองธรรมชาติใหม่ให้ CBD COP17
คณะผู้แทนจากรัฐบาลจากหลายประเทศจะรวมประชุมเจรจาด้านความหลากหลายทางชีวภาพเป็นเวลา 3 วัน เพื่อหาข้อสรุปสุดท้ายเกี่ยวกับการขับเคลื่อนกองทุนพิทักษ์ระบบนิเวศ แม้จะมีความคืบหน้าในมาตรการการคุ้มครองความหลากหลายทางชีวภาพในการประชุม CBD (Convention on Biological Diversity) COP16 [1] เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2567 แต่เหตุการณ์การระงับประชุมในชั่วโมงสุดท้ายที่เกิดขึ้นที่โคลอมเบียสร้างความผิดหวังให้ทั้งพรรคการเมืองหลายพรรคและกลุ่มภาคประชาสังคม ข้อตกลงที่จะเกิดขึ้นในการเจรจาครั้งนี้จะต้องเป็นกองทุนที่รับประกันได้ว่าจะสามารถปกป้องและฟื้นฟูระบบนิเวศในช่วงหลายสิบปีข้างหน้าได้เท่าเทียมกัน