All articles
-
จดหมายเปิดผนึก กฎหมายประมงต้องนำไปสู่การประมงที่ยั่งยืน ระบบนิเวศสมดุล เคารพสิทธิมนุษยชน โดยเครือข่ายองค์กรด้านสิทธิมนุษยชนและสิ่งแวดล้อม
พระราชกำหนดการประมง พ.ศ. 2558 ได้รับการจัดทำขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาการประมงผิดกฎหมายขาดการรายงาน และขาดการควบคุม ตลอดจนปัญหาการจับสัตว์น้ำเกินกำลังการผลิตของทะเล รวมถึงการค้ามนุษย์และการละเมิดสิทธิแรงงานในอุตสาหกรรมการประมงของประเทศไทย เนื้อหาและการบังคับใช้กฎหมายดังกล่าวส่งผลให้การประมงทะเลไทย รวมถึงอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง สามารถปรับตัวให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากลและพันธกรณีระหว่างประเทศที่ประเทศไทยเป็นภาคีสมาชิกและให้การรับรอง
-
ต้อนรับปีใหม่ 2568 พร้อมความสำเร็จในงานรณรงค์ของกรีนพีซ
เราขอขอบคุณผู้สนับสนุนกรีนพีซทุกคนที่เป็นคนสำคัญต่อความสำเร็จในการปกป้องสิ่งแวดล้อมและสิทธิมนุษยชนตลอดปี 2567 ที่ผ่านมา ตลอดปีกรีนพีซรณรงค์และมีความสำเร็จอะไรบ้างมาดูกันดีกว่า
-
โครงการเหมืองใต้ทะเลลึกสะดุด รัฐบาลนอร์เวย์ไม่ออกใบอนุญาต
หลังจากการกดดันจากเหล่านักกิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อม กลุ่มนักวิทยาศาสตร์และชุมชนจากทั่วโลกอย่างหนักมาหลายปี ในที่สุดรัฐบาลนอร์เวย์ก็ลงมติยุติการออกใบอนุญาตรอบแรกสำหรับโครงการเหมืองทะเลลึกในน่านน้ำอาร์กติก
-
สุดช็อก! กรีนพีซเผยชุดภาพธารน้ำแข็งในอาร์กติกละลายในช่วงศตวรรษนี้
กรีนพีซเผยชุดภาพธารน้ำแข็งละลายที่แสดงให้เห็นว่าในช่วงศตวรรษที่ผ่านมาธารน้ำแข็งในอาร์กติกละลายลงไปจำนวนมาก
-
160 องค์กรภาคประชาสังคมเรียกร้องรัฐบาลไทยสนับสนุน“สนธิสัญญาพลาสติกโลก” ควบคุมการผลิต-ยุติมลพิษพลาสติกตลอดวงจรชีวิต
กรุงเทพฯ ประเทศไทย – วันที่ 13 พฤศจิกายน 2567 เวลา 10.00 น. ณ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มูลนิธิความยุติธรรมเชิงสิ่งแวดล้อม (EJF) มูลนิธิบูรณะนิเวศ (EARTH) กรีนพีซ ประเทศไทย (Greenpeace Thailand) และสมาคมแทรชฮีโร่ไทยแลนด์ (Trash Hero Thailand Association) ในฐานะตัวแทนองค์กรภาคประชาสังคมกว่า 160 องค์กร ยื่นแถลงการณ์ถึงรัฐมนตรีกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรียกร้องให้รัฐบาลไทยแสดงจุดยืนที่เข้มแข็งใน…
-
การต่อสู้เพื่อความเป็นธรรมทางทะเลของ บังนี จากชุมชนจะนะ ในการประชุม COP16 ว่าด้วยการปกป้องความหลากหลายทางชีวภาพทางทะเล ชายฝั่ง และเกาะ
นักต่อสู้ด้านสิ่งแวดล้อมและตัวแทนชาวประมงจากจะนะ จังหวัดสงขลาอย่าง "บังนี รุ่งเรือง ระหมันยะ" ได้แบ่งปันเรื่องราวการต่อสู้และความหวังของชุมชนภายใต้หัวข้อ “การส่งเสริมวิธีการที่ยึดหลักสิทธิมนุษยชนในการปกป้องความหลากหลายทางชีวภาพทางทะเล ชายฝั่ง และเกาะ” ซึ่งเป็นเวทีให้ชุมชนที่มีบทบาทสำคัญในการปกป้องระบบนิเวศที่เปราะบางเหล่านี้ได้แสดงออกถึงประเด็นปัญหาด้านสิทธิมนุษยชนที่พวกเขาเผชิญอยู่
-
5 ข้อเรียกร้องต่อกลุ่มผู้นำโลกในการประชุมปกป้องความหลากหลายทางชีวภาพ CBD COP16
การประชุมครั้งนี้จะเป็นการพูดคุยเพื่อปกป้องความหลากหลายทางชีวภาพโลกอีกครั้งหลังจากในปี 2022 ที่ผู้นำจาก 196 ประเทศทั่วโลกได้ให้คำมั่นสัญญาในข้อตกลงคุนหมิง - มอนทรีออล เพื่อหยุดยั้งวิกฤตการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพที่นำไปสู่การสูญพันธ์ครั้งใหญ่
-
ยุติภาวะโลกเดือดที่ต้นเหตุ: นโยบายรัฐไทยต้องเลิกเอื้อฟอกเขียวนายทุน ยกประชาชนเป็นที่ตั้งรับมือวิกฤตสภาพภูมิอากาศ
การเอื้อประโยชน์ให้กับบรรษัทยักษ์ใหญ่ทำให้ประชาชนกลุ่มเปราะบางต้องเผชิญกับสารพัดวิกฤต (poly crisis) ทั้งผลกระทบจากหายนะจากวิกฤตสภาพภูมิอากาศและการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งพวกเขาไม่ได้มีส่วนก่อขึ้น ผลกระทบเหล่านี้ซ้ำเติมให้ความเหลื่อมล้ำทางสังคมและความยากจนที่มีอยู่เดิมทวีความรุนแรงขึ้นไปอีก
-
การประชุมเจรจาเพื่อปกป้องความหลากหลายทางชีวภาพ CBD COP16 เป็นโอกาสที่โลกจะปล่อยให้ระบบนิเวศได้ฟื้นฟู
ผู้นำโลกเดินทางมารวมตัวกันและจะใช้ระยะเวลากว่า 2 สัปดาห์เพื่อการประชุมสมัชชาภาคีว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ หรือ UN Convention on Biological Diversity ครั้งที่ 16 (CBD COP16) ซึ่งจะนำข้อตกลงของการประชุม CBD COP15 ครั้งล่าสุดเมื่อปี 2565 มาปรับเป็นหลักปฏิบัติ ซึ่งจะเป็นการกำหนดเป้าหมายการปกป้องระบบนิเวศและปล่อยให้ระบบได้ฟื้นฟูตัวเองในทิศทางที่เป็นธรรมมากขึ้น ภายในช่วง 10 ปีข้างหน้าและในอนาคตระยะยาว