All articles
-
จากห้องครัวสู่แนวหน้าการปกป้องบ้านเกิด : เรื่องราวของ ‘นักรบผ้าถุง’ จากจะนะ
ภาพยนตร์สารคดีเรื่อง ‘นักรบผ้าถุง เริน เล และแสงตุหวัน (Sarong Warrior)’ ที่พาเราไปทำความรู้จักเหล่ากลุ่มนักรบผ้าถุงที่รวมกลุ่มกันเพื่อปกป้องแหล่งทรัพยากรทางทะเลอันอุดมสมบูรณ์จากโครงการอุตสาหกรรมก่อมลพิษ ผ่านสายตาของผู้กำกับ ‘เพื่อนนักรบผ้าถุง’ กีรติ โชติรัตน์ และเชี่ยววิทย์ พัฒนสุขพันธ์
-
วิมานแย้ : เรื่องราวของ ‘แย้สงขลา’ ป่าชายหาด และระบบนิเวศของ อ.จะนะ สงขลา
ป่าชายหาดมีประโยชน์มากต่อพื้นที่ที่อยู่ชายฝั่ง ช่วยกันคลื่นกันลม ไอเค็ม โดยเฉพาะบริเวณที่เป็นเนินเช่นที่ อ.จะนะ ทำให้พื้นที่ข้างหลังสามารถพัฒนาเป็นป่าบกหรือเพาะปลูกได้ ที่นี่ยังเป็นที่อยู่ของ แย้ สายพันธุ์หายากหรือที่เรียกว่า แย้สงขลา
-
เตอร์ กฤษพล ศรีทอง นักกู้ภัยกับบทบาทอาสาสมัครนักดำน้ำเพื่อสิ่งแวดล้อมของกรีนพีซ
ทีมงานอาสาสมัครดำน้ำถือเป็นอีกหนึ่งทีมสำคัญในงานรณรงค์ครั้งนี้ที่มีส่วนทำให้งานวิจัยทั้งในชุมพร และสงขลา สำเร็จได้ด้วยดี เราจึงใช้โอกาสนี้พูดคุยกับหนึ่งในทีมนักดำน้ำของกรีนพีซ เตอร์ กฤษพล ศรีทอง นักวิ่งเทรลวัย 30 ปี ในชีวิตประจำวัน เตอร์ ทำงานด้านการกู้ชีพและกู้ภัย และมีงานอดิเรกแนวแอดเวนเจอร์ทั้ง ดำน้ำ วิ่งเทรล เดินป่า
-
เรื่องของคนรักปะการัง : กานต์ ศุกระกาญจน์ กับความหลงใหลในปะการังและประสบการณ์ครั้งแรกบนเรือเรนโบว์ วอร์ริเออร์
“ผมว่ามันมหัศจรรย์ดี อย่างแรกที่ผมชอบคือมันสวย อย่างที่สองคือปะการังเป็นเหมือนบ้านของสัตว์ทะเลหลายชนิดและผมคิดว่าสัตว์เหล่านั้นก็น่าทึ่งมากเหมือนกัน นอกจากนี้ปะการังยังเป็นแหล่งอนุบาลสัตว์ทะเล”
-
การสร้างและการทำลายจากโครงสร้างของมนุษย์ ในภาพยนตร์ Solids by the Seashore (ทะเลของฉัน มีคลื่นเล็กน้อยถึงปานกลาง)
สิ่งปลูกสร้างที่มนุษย์สร้างเพื่อควบคุมธรรมชาติ ซึ่งผ่านการตัดสินใจโดยไม่ได้รับฟังความเห็นรอบด้านของรัฐ มักเป็นปัญหาที่ปรากฎให้เห็นอยู่ทั่วไปในประเทศไทย ทั้งส่งผลกระทบต่อชุมชนในพื้นที่ทั้งด้านความอุดมสมบูรณ์ของสิ่งแวดล้อมที่หายไป สิทธิทำกินและอยู่อาศัย รวมถึงความสวยงาม
-
นักกิจกรรมกรีนพีซกางป้าย ณ แท่นขุดเจาะก๊าซฟอสซิลกลางอ่าวไทย ระบุการกักเก็บคาร์บอนใต้ทะเลไม่ใช่ทางออกวิกฤตโลกเดือด
นักกิจกรรมจากเรือเรนโบว์ วอร์ริเออร์ซึ่งเป็นเรือธงของกรีนพีซทำการประท้วงอย่างสันติ ณ แท่นขุดเจาะก๊าซฟอสซิลแหล่งอาทิตย์ คัดค้านโครงการดักจับและกักเก็บคาร์บอน (Offshore Carbon Capture And Storage : CCS) ในเขตเศรษฐกิจจำเพาะของอ่าวไทย เพื่อเปิดโปงการฟอกเขียวของอุตสาหกรรมฟอสซิล
-
ข้อเรียกร้องของ กรีนพีซ ประเทศไทย ต่อโครงการ Carbon Capture and Storage ที่แหล่งอาทิตย์
โครงการ Carbon Capture and Storage(CCS) นอกชายฝั่งกำลังถูกผลักดันในระดับที่ไม่เคยมีมาก่อน ในช่วงกลางปี 2566 บริษัทและรัฐบาลต่างๆ ประกาศแผนการก่อสร้างโครงการ offshore CCS มากกว่า 50 แห่งทั่วโลก หนึ่งในนั้นคือโครงการ CCS ที่แหล่งอาทิตย์ในอ่าวไทย จนถึงปัจจุบัน ประสบการณ์ทั่วโลกในเรื่อง offshore CCS นั้นมาจากโครงการเพียง 2 โครงการในนอร์เวย์ ซึ่งประสบปัญหาที่คาดเดาไม่ได้ แม้จะมีการออกแบบที่ค่อนข้างเรียบง่ายและมีขนาดเล็ก ก็พิสูจน์ความซับซ้อนของ offshore CCS และทำให้เกิดความกังวลอย่างจริงจังถึงโครงการ CCS ที่มีขนาดและขอบเขตที่ใหญ่ขึ้น
-
พื้นที่คุ้มครองทางทะเล: บ้านเราให้เราดูแลและออกแบบอนาคตยั่งยืน
“เอกสารสรุปเชิงนโยบายการจัดพื้นที่คุ้มครองทางทะเลโดยชุมชนเป็นผู้นำเพื่อการออกแบบอนาคตยั่งยืน” ถึงมือนายมาหะมะพีสกรี วาแม รองผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา แล้ว! ในงานรณรงค์ปกป้องทะเลและมหาสมุทรภายใต้โครงการ “Rainbow Warrior Ship Tour 2024: Ocean Justice” ที่หาดสวนกง อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
-
เครือข่ายชุมชนชายฝั่ง และกรีนพีซ ประเทศไทย ส่งมอบ ‘เอกสารสรุปเชิงนโยบายการจัดพื้นที่คุ้มครองทางทะเลโดยชุมชนเป็นผู้นำเพื่อการออกแบบอนาคตยั่งยืน’ ต่อตัวแทนรัฐบาล ผลักดันการมีส่วนร่วมกำหนดนโยบายในพื้นที่บ้านเกิด
เครือข่ายชุมชนชายฝั่งจาก เครือข่ายจะนะรักษ์ถิ่น, สมาคมรักษ์ทะเลจะนะ, จะณะแบ่งสุข, เครือข่ายนาทวียั่งยืน และ กรีนพีซ ประเทศไทย จัดกิจกรรมมอบ “เอกสารสรุปเชิงนโยบายการจัดพื้นที่คุ้มครองทางทะเลโดยชุมชนเป็นผู้นำเพื่อการออกแบบอนาคตยั่งยืน” ต่อนายมาหะมะพีสกรี วาแม รองผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา ในงานรณรงค์ปกป้องทะเลและมหาสมุทรภายใต้โครงการ “Rainbow Warrior Ship Tour 2024: Ocean Justice” ที่หาดสวนกง อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
-
บ้านเรา ให้เรามีส่วนร่วม : เสียงของชุมชนชายฝั่งที่อยากให้รัฐรับฟัง
8 มิถุนายน 2567 ซึ่งเป็นวันมหาสมุทรโลก (World Oceans Day) เรือเรนโบว์ วอร์ริเออร์และกรีนพีซ ประเทศไทยจึงใช้โอกาสนี้เชิญชวนกลุ่มชุมชนชายฝั่ง ผู้ปกป้องทรัพยากรทางทะเลและสิทธิของชุมชน มาร่วมพูดคุยและนำเสนอแนวทางการพัฒนาพื้นที่ ไม่ว่าจะเป็นแนวทางด้านการจัดการทรัพยากรทะเลชายฝั่ง ด้านความมั่นคงทางอาหาร และสิทธิชุมชนชายฝั่ง เพื่อกำหนดทิศทางในการพัฒนาพื้นที่ที่ตนอาศัยอยู่ร่วมกัน ในวงสนทนาบนเรือ “การมีส่วนร่วมของชุมชนในการกำหนดนโยบายและบริหารจัดการทรัพยากรทะเล”