All articles
-
Made in Taiwan
นี่เป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้องและไม่สมควร หากนำเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นมารวบรวมไว้ด้วยกัน เราจะเห็นภาพที่แตกต่างออกไปโดยสิ้นเชิง ความจริงก็คือการประมงของไต้หวันในระดับโลกนั้นอยู่นอกเหนือการควบคุม กิจกรรมดังกล่าวเชื่อมโยงกับการก่ออาชญากรรมที่ร้ายแรง รวมไปถึงการฆาตกรรม การกดขี่ขูดรีดแรงงานบนเรืออย่างทารุณ
-
8 วิธีปกป้องท้องทะเลง่ายๆ…ที่ใครๆก็ทำได้
ไม่ว่าคุณจะอยู่ใกล้หรือไกลจากทะเล ทุกสิ่งทุกอย่างที่เราใช้ในชีวิตประจำวันนั้นจะตกลงสู่ทะเลในที่สุด ผ่านทางท่อระบายน้ำ
-
โลกจะเป็นอย่างไรหากไร้ฉลาม
พอล ฮิลตัน กำลังจ้องมองเหล่าฉลามจำนวนนับไม่ถ้วนที่ถูกตัดครีบทั้งเป็น หลังจากนั้นพวกมันก็ต้องตายลงด้วยความทุกข์ทรมาน
-
เขตคุ้มครองธรรมชาติแห่งอาร์กติก
ขณะนี้ น้ำแข็งในทะเลอาร์กติกกำลังละลาย การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอันเป็นผลจากการกระทำของมนุษย์ทำให้ปริมาณน้ำแข็งในทะเลช่วงฤดูร้อนลดลงไปอย่างน้อยร้อยละ 75 ซึ่งเป็นอัตราที่ไม่เคยประสบมาก่อนในประวัติศาสตร์มนุษย์
-
โซ่ตรวนกลางทะเล: การละเมิดสิทธิมนุษยชนในอุตสาหกรรมปลาทูน่าโลก
โซ่ตรวนกลางทะเล: รายงานสืบสวนของกรีนพีซเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ระบุบริษัท ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)ผู้ผลิตปลาทูน่าบรรจุกระป๋องที่ใหญ่ที่สุดในโลก ไม่ได้ดำเนินการอย่างเพียงพอเพื่อแก้ปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนในห่วงโซ่อุปทานปลาทูน่า
-
รายงานการจัดอันดับความยั่งยืนปลาทูน่ากระป๋องปี พ.ศ.2558
กรีนพีซได้ส่งแบบสำรวจไปยังผู้ผลิตปลาทูน่ากระป๋องรายใหญ่หลายแห่งซึ่งวางจำหน่ายปลาทูน่ากระป๋องในประเทศไทย นอกจากการสำรวจเหล่านี้กรีนพีซได้ทำการวิจัยเพิมเติมเกี่ยวกับนโยบายและการปฏิบัติของบริษัทเหล่าน้ีเพื่อให้ได้ข้อมูลมากสุดเท่าที่จะทำได้
-
Infographic ปัญหาวิกฤตทะเลไทย
ประเทศไทยมีทรัพยากรทางทะเลเพียงพอที่จะหล่อเลี้ยงชาวไทยและส่งออกไปภูมิภาคต่างๆ ของโลกได้อย่างยั่งยืนหากเราตระหนักที่จะดูแลท้องทะเลร่วมกัน แต่ที่ผ่านมาการใช้ประโยชน์พื้นที่ชายฝั่งและการพัฒนากิจการประมงของไทยเป็นไปในทางทำลายเพื่อกอบโกยเงินให้มากที่สุด
-
สร้างรักให้ทะเล
มหาสมุทรเป็นที่รองรับมลพิษต่างๆที่พวกเราก่อขึ้น รวมถึงก๊าซเรือนกระจกที่เกิดจากการเผาผลาญพลังงานฟอสซิลและปลาที่เรากิน กำลังถูกคุกคามจากการประมงแบบทำลายล้าง
-
Infographic วิกฤตการณ์ปลาทูน่าโลก
การประมงไร้ความรับผิดชอบ ต้นเหตุของปัญหาทั้งปวง
-
เจาะวิกฤตทะเลไทย
การทำประมงเกินขนาดและการทำลายถิ่นที่อยู่อาศัยของสัตว์ทะเลเป็นเหตุผลสำคัญที่ทำให้ปริมาณสัตว์ทะเลในอ่าวไทยลดลงอย่างรวดเร็ว พร้อมกับราคาปลาและอาหารทะเลในท้องตลาดที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว