All articles
-
การนำเข้าก๊าซฟอสซิล ที่ประชาชนจำต้องแบกภาระค่าไฟฟ้าตลอดชีพ?
กลุ่มทุนก๊าซฟอสซิลยังเดินหน้านำเข้า LNG มาผลิตไฟฟ้าเพื่อความมั่นคงทางพลังงานของใคร?
-
ภาพยนตร์สารคดีสั้นจากกรีนพีซ ญี่ปุ่น ‘MIWATARI’ คว้ารางวัลชนะเลิศภาพยนตร์สั้น สาขาสารคดีจากเทศกาลภาพยนตร์ด้านสภาพภูมิอากาศ CCCL Film Festival 2024
ภาพยนตร์สารคดีสั้นจากกรีนพีซ ญี่ปุ่น ‘MIWATARI’ คว้ารางวัลชนะเลิศภาพยนตร์สั้น สาขาสารคดีจากเทศกาลภาพยนตร์ด้านสภาพภูมิอากาศ CCCL Film Festival 2024
-
เพราะเหตุใดเราจึงไม่เห็นปรากฏการณ์ ‘มิวาตะ’ ที่ทะเลสาบสุวะในช่วงหลายปีที่ผ่านมา
‘ปีนี้ก็เป็นอีกปีที่ไม่มีมิวาตาริเกิดขึ้น’ ผมคิดว่าคนแรกที่บันทึกว่า ไม่มีมิวาตาริเกิดขึ้นนั้นเขาจะรู้สึกอย่างไร เพราะความจริงก็คือปรากฎการณ์นี้มีความสำคัญต่อพวกเราอย่างลึกซึ้ง
-
Eco-Friendly Event ที่บาหลี จัดงานอีเว้นท์อย่างไรให้กรีนและยั่งยืน
TAKSU ธุรกิจทางเลือกที่อำนวยความสะดวกให้แก่คนจัดกิจกรรมที่ต้องการลดการใช้พลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวทิ้งในงาน
-
‘MIWATARI’ ภาพยนตร์สารคดีสั้นจากกรีนพีซ ญี่ปุ่น ได้รับเลือกฉายในเทศกาลภาพยนตร์ด้านสภาพภูมิอากาศระดับโลก
ภาพยนตร์สั้น “MIWATARI” (มิวาตาริ) ได้รับการสนับสนุนโดยกรีนพีซ ญี่ปุ่น ได้รับเลือกให้ฉายในเทศกาลภาพยนตร์ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ประเทศไทย เทศกาลหนังสั้น โลกป่วยเราต้องเปลี่ยน ปี 2567
-
กว่า 12,000 รายชื่อ ยื่นเสนอร่างกฎหมาย PRTR ขอนายกเศรษฐา อย่าปัดตก
ตัวแทนจากมูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม มูลนิธิบูรณะนิเวศ กรีนพีซ ประเทศไทย และภาคีเครือข่ายภาคประชาชน ยื่นรายชื่อประชาชน 12,165 รายชื่อ เพื่อเสนอร่างพระราชบัญญัติการรายงานและเปิดเผยข้อมูลการปล่อยและเคลื่อนย้ายสารมลพิษ พ.ศ…. (ร่างกฎหมาย PRTR)
-
โลกเดือดเกินขีดจำกัดอุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลก 1.5°C เป็นเวลา 12 เดือน – ความเห็นของกรีนพีซ
อัมสเตอร์ดัม เนเธอร์แลนด์, 8 กุมภาพันธ์ 2567 – สืบเนื่องจากข้อมูลซึ่งเผยแพร่โดยศูนย์คอเปอร์นิคัสซึ่งเป็นหน่วยงานบริการข้อมูลด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของสหภาพยุโรปที่แสดงให้เห็นว่า เป็นครั้งแรกที่อุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกมีแนวโน้มเกินขีดจำกัด 1.5 องศาเซลเซียสเมื่อเทียบกับปีฐานในช่วงก่อนยุคอุตสาหกรรมโดยเกิดขึ้นตลอดทั้งปีตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2566 ถึงมกราคม 2567
-
ชวนติดตามเรื่องวิกฤตสภาพภูมิอากาศโลกปี 2567
ปี 2566 ที่ผ่านมา มีความท้าทายและมีบันทึกสถิติใหม่ว่าด้วยวิกฤตสภาพภูมิอากาศ ทั้งอุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกที่ร้อนที่สุดเท่าที่เคยมีมานับจากช่วงก่อนการปฏิวัติอุตสาหกรรมเมื่อ 200 ปีก่อน ความสุดขั้วของสภาพอากาศที่ถี่ขึ้น บั่นทอนการพัฒนามนุษย์และก่อความเหลื่อมล้ำทางสังคมมากขึ้น
-
ประเด็นทางทะเลและสิทธิมนุษยชนที่น่าจับตามองปี 2024
ตั้งแต่สิทธิแรงงานประมงที่อาจ ‘หายไป’ จากกฎหมายประมงฉบับใหม่ ประเด็นประมงพื้นบ้านและสิทธิในการเข้าถึงทรัพยากร ไปจนถึงประมงไทยและมาตรฐานระหว่างประเทศ
-
สิทธิในการอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี ต้องมีกฎหมาย PRTR
มูลนิธินิติธรรมสิ่งแวดล้อม มูลนิธิบูรณะนิเวศ กรีนพีซ ประเทศไทย และชมรมนักข่าวสิ่งแวดล้อม จัดงานเสวนาในหัวข้อ “สิทธิในการอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี ต้องมีกฎหมาย PRTR” ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร (BACC) เพื่อสื่อสารให้เห็นถึงความสำคัญและความจำเป็นที่ประเทศต้องมีกฎหมาย PRTR ( เพราะการอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดีเป็นสิทธิของประชาชนทุกคน ตามที่คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ได้ลงมติเห็นชอบและประกาศไว้เมื่อเดือนตุลาคม 2564 ว่าสิทธิในสิ่งแวดล้อมที่ดี คือสิทธิมนุษยชน