All articles
-
บทวิพากษ์ Roadmap การจัดการขยะพลาสติก (พ.ศ.2561-2573)
การวิเคราะห์ “Roadmap การจัดการขยะพลาสติกของไทย พ.ศ. 2561-2573” โดยกรีนพีซ ประเทศไทย ชี้ให้เห็นว่า เมื่อพิจารณาจากการบริหารนโยบายสาธารณะของรัฐ (publicity governance) และกระบวนการมีส่วนร่วมทางนโยบายของพลเมืองไทย (society and policy pathway consciousness) Roadmap การจัดการขยะพลาสติกนี้ยังขาดความมุ่งมั่นและไร้ทิศทางเพื่อต่อกรกับวิกฤตมลพิษพลาสติก และที่สำคัญ ยังสวนทางกับแผนที่นำทางลดก๊าซเรือนกระจก พ.ศ. 2564-2573 และเป้าหมายลดก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net Zero Emission) พ.ศ.2608-2613
-
ผลการวิเคราะห์จุดความร้อน พื้นที่เผาไหม้ ความเข้มข้นของ PM2.5 และพื้นที่ปลูกข้าวโพด ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง ระหว่างปี 2562-2563
ความรุนแรงของมลพิษทางอากาศข้ามพรมแดนที่ภาคเหนือตอนบนของไทยได้รับผลกระทบมากว่า 15 ปีนั้น แม้ปัญหานี้จะได้รับความสนใจจากภาครัฐบ้างในช่วง 3-4 ที่ผ่านมา จากการขับเคลื่อนเพื่อเรียกร้องสิทธิขออากาศดีคืนมา อย่างไรก็ตาม ข้อค้นพบสำคัญจากการวิเคราะห์ความเข้มข้นของ PM2.5 รายเดือนในพื้นที่อนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง ตลอด 6 ปีที่ผ่านมา ยังแสดงให้เห็นว่าปัญหามลพิษข้ามพรมแดน PM2.5 ไม่ได้ลดความรุนแรงลงเลย
-
ผลการตรวจสอบแบรนด์(Brand Audit) จากขยะพลาสติกในประเทศไทย ปี 2563
ผลการตรวจสอบแบรนด์(Brand Audit) จากขยะพลาสติกในประเทศไทย ปี 2563
-
ผลการตรวจสอบแบรนด์(Brand Audit) จากขยะพลาสติกในประเทศไทย ปี 2562
ผลการตรวจสอบแบรนด์(Brand Audit) จากขยะพลาสติกในประเทศไทย ปี 2562 กรีนพีซเป็นส่วนหนึ่งของแนวร่วม Break Free From Plastic ที่ทำงานเคลื่อนไหวระดับโลก เพื่อมุ่งหวังถึงอนาคตที่ปลอดมลพิษพลาสติก นับตั้งแต่ที่มีการเปิดตัวในเดือนกันยายน 2559 จนถึงปัจจุบัน Break Free From Plastic มีกลุ่มองค์กรกว่า 1,475 แห่ง และปัจเจกบุคคล 6,118 คนทั่วโลก
-
รายงานของกรีนพีซเปิดโปงแนวทางที่ผิดพลาดของบริษัทข้ามชาติในการแก้ปัญหาวิกฤตพลาสติก
บริษัทข้ามชาติทั้งหลายกำลังลงทุนในเทคโนโลยีการรีไซเคิลเชิงเคมีซึ่งมีความเสี่ยงและทำให้เกิดความหวังที่ผิดๆ ซึ่งทำให้ผู้บริโภคยังคงยึดติดกับการใช้บรรจุภัณฑ์พลาสติกต่อไป
-
ต่อกรการค้าขยะพลาสติกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ข้อเสนอเชิงนโยบายต่อประเทศสมาชิกอาเซียน
การที่ผู้นำประชาคมอาเซียน 10 ประเทศเตรียมมาพบกันที่กรุงเทพฯ ในเดือนมิถุนายน 2562 นี้ นับเป็นเรื่องน่าประหลาดใจที่ไม่มีประเด็นการนำเข้าขยะพลาสติกบรรจุอยู่ในวาระการประชุมที่จะเกิดขึ้น
-
ข้อมูลการค้าขยะพลาสติกโลก (Global Plastics Waste Trade) ปี พ.ศ.2559-2561 และผลกระทบจากนโยบายห้ามนำเข้าของเสียของจีน
นโยบายของจีนในปี พ.ศ.2561 ที่ห้ามนำเข้าพลาสติกรีไซเคิลผสมทำให้ระบบรีไซเคิลทั่วโลกต้องสะเทือนโดยเผยให้เห็นลักษณะที่เป็นอันตรายและสิ้นเปลืองของระบบการค้าขยะรีไซเคิล ผลสะเทือนนี้เกิดขึ้นทั้งโลก และในปัจจุบันพลาสติกยังไม่มีสถานที่ใดที่เหมาะสมที่จะไป
-
วิกฤตแห่งความสะดวกสบาย
บริษัทผลิตสินค้าอุปโภคบริโภคที่จำหน่ายเร็ว (Fast-moving consumer goods: FMCG) ทั้งหลายอยู่เบื้องหลังแบบจำลองเศรษฐกิจแบบกินทิ้งกินขว้างที่ก่อวิกฤตมลพิษพลาสติก
-
ผลการตรวจสอบแบรนด์ (Brand Audit) จากขยะพลาสติกในประเทศไทย ปี 2561
Break Free From Plastic ได้ยกระดับกิจกรรมทำความสะอาด (clean up) พื้นที่และชายฝั่งทะเลที่ดำเนินการอย่างเป็นประจำทั่วโลกขึ้นไปอีกขั้นหนึ่ง โดยการทำ brand audit ซึ่งมุ่งเน้นตรวจสอบแบรนด์สินค้าต่างๆ ที่มีส่วนรับผิดชอบต่อมลพิษพลาสติกที่พบในสิ่งแวดล้อม
-
ไม่อาจกลับคืนเป็นอย่างเดิม : หายนะภัยโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิจิ
กรณีศึกษาสถานการณ์ปัจจุบันและแนวโน้มการรับรังสีนิวเคลียร์ตลอดช่วงชีวิตในพื้นที่อิตาเตะ จังหวัดฟุกุชิมะ