All articles
-
ผลวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไม้ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์และจุดความร้อน ในอนุภูมิภาคลุ่มนํ้าโขง ปี 2564-2566 : ความท้าทายของระบบตรวจสอบย้อนกลับของอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์
ข้อมูลการวิเคราะห์จากภาพถ่ายดาวเทียมล่าสุดระบุว่าในปี 2566 พบจุดความร้อนในแปลงข้าวโพดเลี้ยง สัตว์มากถึงร้อยละ 41 ของจุดความร้อนทั้งหมดในอนุภูมิภาคลุ่มนํ้าโขง ขณะเดียวกัน ผืนป่าในอนุภูมิภาค ลุ่มนํ้าโขงหายไป 11.8 ล้านไร่จากการขยายตัวของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในระยะเวลาเพียง 9 ปี (ปี 2558-2566)
-
ตีแผ่อุตสาหกรรมเนื้อสัตว์ : 7 มายาคติในโฆษณาโดยนายทุนขายเนื้อ
เราอาจเห็นความอุดมสมบูรณ์ในแวดวงการตลาดเนื้อสัตว์ (Meat’s Marketing)แต่เบื้องหลังภาพฉายอันสวยงามของการตลาดที่อุตสาหกรรมเนื้อสัตว์มอบให้เราเพื่อเพิ่มการบริโภคนั้น ยังมีความจริงอีกมุมหนึ่งที่ซ่อนอยู่
-
ความรู้สึกมั่นคงปลอดภัยแบบจอมปลอม
เพื่อให้ระบบการทำฟาร์มมีความยืดหยุ่น เพื่อสุขภาพของมนุษย์ที่ดีขึ้น และเพื่อความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม สหภาพยุโรปไม่จำเป็นต้องเพิ่มกำลังการผลิต แต่ควรผลิตอย่างแตกต่าง โดยผลิตเชิงในนิเวศท้องถิ่นให้มากขึ้น เพื่อผลผลิตที่ดีต่อสุขภาพ โดยให้ความสำคัญกับเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์จากนมน้อยลง รวมถึงการลดการผลิตพืชอาหารสัตว์ และลดการนำพืชที่คนสามารถกินได้มาผลิตเป็นเชื้อเพลิง
-
ป้อนอาหารให้ปัญหา : ความอันตรายที่เพิ่มขึ้นการทำฟาร์มปศุสัตว์ในยุโรป
อุตสาหกรรมการผลิตและการบริโภคเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์จากนมวัวที่มีมากเกินไปส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อสภาพภูมิอากาศ สิ่งแวดล้อม รวมไปถึงสุขภาพเรา หลักฐานทางวิทยาศาสตร์มีเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ชี้ให้เห็นความจำเป็นในการลดการผลิตและการบริโภคเนื้อสัตว์ชัดเจนและเร่งด่วนกว่าครั้งใดในอดีต
-
กรีนพีซเปิดผลวิเคราะห์ภาพถ่ายดาวเทียม ระบุช่วง 6 ปีที่ผ่านมา ผืนป่าในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงกลายเป็นไร่ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 10.6 ล้านไร่ และโยงกับมลพิษ PM2.5 ข้ามพรมแดน
รายงาน ได้ขยายการวิเคราะห์ภาพถ่ายดาวเทียมระบบ MODIS เพื่อให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไม้ การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และนัยยะสำคัญของพื้นที่เผาไหม้และจุดความร้อนที่มีต่อการกระจายตัวและความเข้มข้นของมลพิษ PM2.5 ข้ามพรมแดนในช่วงปี 6 ปีที่ผ่านมา
-
ผลการวิเคราะห์จุดความร้อน พื้นที่เผาไหม้ ความเข้มข้นของ PM2.5 และพื้นที่ปลูกข้าวโพด ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง ระหว่างปี 2562-2563
ความรุนแรงของมลพิษทางอากาศข้ามพรมแดนที่ภาคเหนือตอนบนของไทยได้รับผลกระทบมากว่า 15 ปีนั้น แม้ปัญหานี้จะได้รับความสนใจจากภาครัฐบ้างในช่วง 3-4 ที่ผ่านมา จากการขับเคลื่อนเพื่อเรียกร้องสิทธิขออากาศดีคืนมา อย่างไรก็ตาม ข้อค้นพบสำคัญจากการวิเคราะห์ความเข้มข้นของ PM2.5 รายเดือนในพื้นที่อนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง ตลอด 6 ปีที่ผ่านมา ยังแสดงให้เห็นว่าปัญหามลพิษข้ามพรมแดน PM2.5 ไม่ได้ลดความรุนแรงลงเลย
-
7 ขั้นตอนต้องรู้ในการติดตั้งโซลาร์รูฟท็อป
รวม 7 ขั้นตอนต้องรู้ในการติดตั้งโซลาร์รูฟท็อป เพื่อให้ทุกคนที่อยากติดตั้งแผงโซลาร์เซลล์เข้าใจขั้นตอนก่อนการติดตั้งแผงให้มากขึ้น
-
การประเมินภาคพลังงานในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
การเปลี่ยนผ่านพลังงานภายใต้ภาพฉายการลดก๊าซเรือนกระจกเพื่อจำกัดการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลกไม่ให้เกิน 1.5 องศาเซลเซียส
-
ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566)
รายงานฉบับนี้ จึงเน้นย้ำถึงความจำเป็นในการนำระบบ net-metering มาใช้ในประเทศไทย โดยตั้งเป้าหมายที่จะมีระบบโซลาร์รูฟท็อป 3,000 เมกะวัตต์ ภายในระยะเวลา 3 ปี
-
ข้าวโพด การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน และมลพิษทางอากาศข้ามพรมแดน
รายงานวิเคราะห์ชิ้นล่าสุด “ข้าวโพด การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน และมลพิษทางอากาศข้ามพรมแดน” เผยถึงบทบาทของอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ที่เชื่อมโยงกับการก่อหมอกควันพิษข้ามพรมแดนโดยการวิเคราะห์ข้อมูลจากดาวเทียมระหว่างปี 2558-2562 พบว่า มีพื้นที่เผาไหม้และจุดความร้อนในพื้นที่ปลูกข้าวโพดในอนุภาคภูมิภาคลุ่มน้ำโขงอยู่โดยเฉลี่ย 1 ใน 3 ของพื้นที่เผาไหม้และจุดความร้อนที่เกิดขึ้นทั้งหมด