-
ฝุ่นพิษ PM2.5 ที่ปกคลุมกรุงเทพฯ มาจากไหนได้อีก : มลพิษทางอากาศข้ามพรมแดน ?
ทำไม พื้นที่กรุงเทพฯ จึงต้องเผชิญกับวิกฤตฝุ่น PM2.5 ในระดับที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพอีกหลังจากเวลาผ่านไปได้ไม่นาน
-
ไฟฟ้าพลังแดดของคนปลายสาย
แม้ยังเป็นก้าวแรกๆ ของคนปลายสายที่พยายามสร้างความมั่นคงทางไฟฟ้าให้ตัวเอง ไม่มีใครรู้ว่าต้องเดินไกลแค่ไหนจึงจะถึงสิ่งที่มุ่งหวัง แต่อย่างน้อยที่สุดพวกเขาก็เริ่มต้นแล้ว นั่นย่อมหมายถึงการขยับเข้าใกล้ปลายทางมากขึ้นอีกหน่อย...และมากกว่าการวาดฝันโดยไม่ลงมืออะไรอย่างแน่นอน
-
กรีนพีซเรียกร้องให้ลดการผลิตและบริโภคเนื้อสัตว์เชิงอุตสาหกรรมเพื่อสุขภาวะของโลก
รายงานฉบับใหม่ของกรีนพีซ ระบุว่า ทั่วโลกต้องลดการผลิตและบริโภคเนื้อสัตว์เชิงอุตสาหกรรมลงครึ่งหนึ่งให้ได้ภายในปี 2593 เพื่อหลีกเลี่ยงผลกระทบที่เป็นหายนะจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และบรรลุเป้าหมายตามข้อตกลงปารีส
-
ประวัติย่อของขบวนการเคลื่อนไหวสิ่งแวดล้อม
“เป้าหมายสูงสุดของชีวิตมนุษย์คือการอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขกับธรรมชาติ”- เซโน่ ~ 450 ปีก่อนคริสตกาล (จากหนังสือ Lives and Opinions of Eminent Philosophers, ไดโอจีเนส แลร์ทีอุส)
-
นักกิจกรรมกรีนพีซมอบนาฬิกาฝุ่นถึงนายกฯ เรียกร้องให้เร่งแก้วิกฤตฝุ่น PM2.5
นาฬิกาฝุ่นเป็นสิ่งเตือนใจนายกรัฐมนตรีถึงความเร่งด่วนของปัญหา
-
กรีนพีซ เรียกร้องให้นายกรัฐมนตรีแก้ปัญหามลพิษทางอากาศ
นักกิจกรรมกรีนพีซ นำเสนอนาฬิกาทรายที่บรรจุฝุ่นที่เก็บรวบรวมจากพื้นที่ปนเปื้อนมลพิษจากในกรุงเทพฯ และ จากหลายจังหวัด ที่ได้รับผลกระทบจากมลพิษทางอากาศ เพื่อส่งมอบให้กับตัวแทนนายกรัฐมนตรีบริเวณด้านหน้าสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.)
-
ดัชนีคุณภาพอากาศ PM2.5 และการรายงานคุณภาพอากาศที่ทันสมัย ทำไมจะทำไม่ได้?
ท่ามกลางวิกฤตมลพิษทางอากาศที่กำลังจะกลายเป็นวิกฤตด้านสาธารณสุข เรามักจะได้ยินหน่วยงานของรัฐบอกว่า กรุงเทพมหานครและประเทศไทยยังไม่พร้อมที่จะมีดัชนีคุณภาพอากาศ PM2.5 และการรายงานคุณภาพอากาศที่ทันสมัย ต้องรอไปอีก 2-3 ปี
-
ก้าวข้ามขยะพลาสติกจากน้ำดื่ม
ทำอย่างไร...แขกที่เข้าพักจึงจะมีน้ำสะอาดดื่ม โดยไม่เหลือทิ้งขยะพลาสติก
-
ฝุ่นพิษ PM2.5 ที่คุกคามสุขภาพของคนในกรุงเทพฯ มาจากไหน
วิกฤตฝุ่นพิษ PM2.5 ที่ปกคลุมเมืองหลวงของประเทศมาตั้งแต่ต้นปี ทำให้คนสงสัยว่า ฝุ่นพิษ PM2.5 มันมาจากไหนกันและทำไมถึงไม่ยอมหายไปสักที
-
EHIA ถ่านหินเทพาสอบตก
กระบวนการจัดการรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินเทพาเกือบมาถึงสุดทาง เมื่อการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย(กฟผ.) จัดส่งรายงานฉบับดังกล่าวให้กับคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เพื่อผลักดันให้เกิดการอนุมัติในเร็ววันนี้