• Skip to Navigation
  • Skip to Content
  • Skip to Footer
Greenpeace
  • รู้จักกรีนพีซ
    • เกี่ยวกับเรา
    • ความสำเร็จในงานรณรงค์
    • คำถามที่พบบ่อย
  • งานรณรงค์
    • ทะเลและมหาสมุทร
    • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    • พลาสติก
    • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
  • ร่วมกับเรา
    • อาสาสมัคร
    • ร่วมลงชื่อ
    • ตำแหน่งงานว่าง
    • Greenpeace Internship
    • อีเวนท์
  • การบริจาค
    • หลักการระดมทุน
    • ผู้บริจาคกรีนพีซ
    • สิทธิพิเศษสำหรับผู้บริจาค
    • ติดต่อฝ่ายดูแลผู้บริจาค
  • ข่าวสาร
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • บทความ
    • รายงาน และเอกสารงานรณรงค์
  • รู้จักกรีนพีซ
  • งานรณรงค์
  • ร่วมกับเรา
  • การบริจาค
  • ข่าวสาร
Greenpeace
  • Home
  • รู้จักกรีนพีซ
    • เกี่ยวกับเรา
    • ความสำเร็จในงานรณรงค์
    • คำถามที่พบบ่อย
  • งานรณรงค์
    • ทะเลและมหาสมุทร
    • วิกฤตสภาพภูมิอากาศ
    • พลาสติก
    • ความหลากหลายทางชีวภาพ
    • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
  • ร่วมกับเรา
    • อาสาสมัคร
    • ร่วมลงชื่อ
    • ตำแหน่งงานว่าง
    • Greenpeace Internship
    • อีเวนท์
  • การบริจาค
    • หลักการระดมทุน
    • ผู้บริจาคกรีนพีซ
    • สิทธิพิเศษสำหรับผู้บริจาค
    • ติดต่อฝ่ายดูแลผู้บริจาค
  • ข่าวสาร
    • ข่าวประชาสัมพันธ์
    • บทความ
    • รายงาน และเอกสารงานรณรงค์

News & Stories

  • Bangkok Choking on Toxic Smog. © Arnaud Vittet / Greenpeace
    เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    มลพิษทางอากาศ

    เมืองใหญ่ของไทย ชีวิตที่ต้องแลกกับวิกฤตฝุ่นพิษ PM2.5

    ในเมืองที่เราอยู่ตอนนี้มีมลพิษทางอากาศมากน้อยแค่ไหน? ที่เราบอกว่าวันนี้อากาศดีนะ ที่จริงแล้วอากาศดีจริงหรือเปล่า?

    รัตนศิริ กิตติก้องนภางค์ •
    19 May 2017
    7 min read
  • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    มลพิษทางอากาศ

    กรีนพีซชี้เมืองใหญ่ของไทยในปี 2559 ยังเจอวิกฤตมลพิษฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน(PM2.5) โดยไม่มีเป้าหมายรับมือ เรียกร้องกรมควบคุมมลพิษยกระดับดัชนีคุณภาพอากาศ

    กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้จัดถ่ายทอดสดผ่านทางเฟซบุ๊ค เปิดเผยรายงานการจัดอันดับเมืองที่มีมลพิษฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) ปี 2559 โดยต่อเนื่องจากการจัดอันดับที่ได้นำเสนอครั้งแรกในปีที่ผ่านมา

    Greenpeace Thailand •
    17 May 2017
    4 min read
  • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    มลพิษทางอากาศ

    การจัดลําดับเมืองที่มีปัญหามลพิษทางอากาศ ปี 2559

    รายงานการจัดลำดับนี้ประมวลผลจากข้อมูลของสถานีตรวจวัดของกรมควบคุมมลพิษ 19 สถานีทั่ว ประเทศ เพื่อหยิบยกประเด็นท้าทายของการจัดการมลพิษฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) 1 และนำเสนอข้อเรียกร้องเชิงนโยบายและแนวทางจัดการในทางปฏิบัติต่อหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง

    Greenpeace Thailand •
    11 May 2017
  • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    พลังงานหมุนเวียน

    ข้อคิดเห็น: อะไรคือเบื้องหลังความเฟื่องฟูของพลังงานหมุนเวียนในประเทศจีน

    อุตสาหกรรมพลังงานลมและแสงอาทิตย์ของประเทศจีนนั้นถูกวางโครงการไว้ว่าจะขยายตัวเพิ่ม 5 เท่า ภายในปี 2573

    Erin Newport •
    24 April 2017
    3 min read
  • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    เชื้อเพลิงฟอสซิล

    รุ่งเรืองแล้วร่วงโรย 2560

    กำลังผลิตของโรงไฟฟ้าถ่านหินทั่วโลกที่กำลังพัฒนาโครงการนั้นลดลงอย่างเห็นได้ชัด โดยมีสาเหตุหลักจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายและสภาวะทางเศรษฐกิจในจีนและอินเดีย

    Greenpeace Thailand •
    27 March 2017
  • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    เชื้อเพลิงฟอสซิล เหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้ว

    รายงานฉบับใหม่ระบุการพัฒนาโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินทั่วโลกลดลง จุดประกายต่อการบรรลุเป้าหมายเพื่อจำกัดการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ยผิวโลก

    วอชิงตัน ดี ซี, 22 มีนาคม 2560- หลังจากที่โรงไฟฟ้าถ่านหินแห่งที่ 250 ในสหรัฐอเมริกาถูกปลดระวางไปเมื่อเร็วๆ นี้ เซียร่าคลับ(Sierra Club) กรีนพีซ และโคลสวอร์ม (CoalSwarm) ได้เปิดเผยผลสำรวจประจำปีฉบับที่ 3 ว่าด้วยโรงไฟฟ้าถ่านหินทั่วโลกซึ่งอยู่ในแผนการพัฒนา ในรายงาน Boom and Bust 2017: Tracking The Global Coal Plant Pipeline โดยระบุว่าโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินทั่วโลกที่กำลังอยู่ในขั้นตอนการก่อสร้างนั้น ลดลงร้อยละ 62 กิจกรรมก่อนการดำเนินการก่อสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินทั่วโลกลดลงร้อยละ 48 และโรงไฟฟ้าถ่านหินแห่งใหม่ที่ได้รับอนุญาตในจีนลดลงถึงร้อยละ 85

    Greenpeace Thailand •
    22 March 2017
    4 min read
  • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    นิวเคลียร์

    ในวาระครบรอบหายนะภัยฟุกุชิมะ รัฐบาลญี่ปุ่นให้ผู้คนกลับถิ่นฐานเดิมที่ยังคงปนเปื้อนรังสี

    ปี2560 เป็นปีแรกที่มีการเปิดพื้นที่ที่เคยปนเปื้อนรังสีอย่างหนักในเขตอันตรายห้ามเข้า ที่เรียกว่า แอเรีย 1 และ 2 (Area 1, 2) ให้ประชาชนกลับเข้าไปอยู่อาศัยเช่นเดิม

    Greenpeace Thailand •
    11 March 2017
    3 min read
  • ปฏิเสธ
    นิวเคลียร์

    ไม่อาจกลับคืนเป็นอย่างเดิม : หายนะภัยโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิจิ

    กรณีศึกษาสถานการณ์ปัจจุบันและแนวโน้มการรับรังสีนิวเคลียร์ตลอดช่วงชีวิตในพื้นที่อิตาเตะ จังหวัดฟุกุชิมะ

    Greenpeace Thailand •
    10 March 2017
  • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    เชื้อเพลิงฟอสซิล

    EIA-EHIA ถ่านหินฉบับรัฐบาล คสช.

    การประกาศใบแดงให้กับ EHIA ในครั้งนี้สะท้อนถึงความล้มเหลวของการจัดทำรายงาน EIA และ EHIA ครั้งแรกของประเทศไทยที่รัฐบาลยอมรับท่ามกลางการต่อสู้เพื่อปฎิรูปกระบวนการจัดทำรายงานผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมซึ่งมีการขับเคลื่อนมายาวนานกว่า5ปี โดยที่ผ่านมาหน่วยงานของรัฐเพิกเฉยต่อข้อเสนอเหล่านั้นมาโดยตลอด

    จริยา เสนพงศ์ •
    2 March 2017
    7 min read
  • เปลี่ยนผ่านพลังงานที่สะอาดและเป็นธรรม
    เชื้อเพลิงฟอสซิล

    อัปยศ! วันที่ผู้นำประเทศไทยเลือกเดินหน้าถ่านหิน

    หลังจากชุมชนท้องถิ่นและภาคประชาชนขับเคลื่อนเพื่อคัดค้านโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่มาเป็นเวลากว่า 3 ปี ในที่สุดพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ในฐานะประธานการประชุมคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) อนุมัติให้เดินหน้าโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินกระบี่แล้ว ท่ามกลางเสียงคัดค้านของประชาชนที่มารอฟัง ซึ่งไม่เห็นด้วยและกังวลต่อผลกระทบของโครงการ

    รัตนศิริ กิตติก้องนภางค์ •
    17 February 2017
    5 min read
Prev
1 … 43 44 45 46 47 … 52
Next
  • Greenpeace International
  • A
    • Africa
      • English •
      • Français
    • Aotearoa
    • Argentina
    • Australia
    • Austria
  • B
    • Belgium
      • Français •
      • Nederlands
    • Brazil
    • Bulgaria
  • C
    • Canada
      • English •
      • Français
    • Chile
    • Colombia
    • Croatia
    • Czech Republic
  • D
    • Denmark
  • E
    • East Asia
      • 中文简体 •
      • 繁體 •
      • 正體 •
      • 한국어 •
      • English
    • European Union
  • F
    • Finland
    • France
  • G
    • Germany
    • Greece
  • H
    • Hungary
  • I
    • India
      • English •
      • Hindi
    • Indonesia
    • Israel
    • Italy
  • J
    • Japan
  • L
    • Luxembourg
      • Deutsch •
      • Français
  • M
    • Malaysia
    • Mexico
    • Middle East and North Africa
      • العربية •
      • English •
      • Français
  • N
    • Netherlands
    • Norway
  • P
    • Peru
    • Philippines
    • Poland
    • Portugal
  • R
    • Romania
  • S
    • Slovakia
    • Slovenia
    • South Asia
    • Southeast Asia
    • Spain
      • Español •
      • Català •
      • Euskara •
      • Galego
    • Sweden
    • Switzerland
      • Deutsch •
      • Français
  • T
    • Thailand
    • Turkey
  • U
    • UK
    • Ukraine
    • USA
Follow us
  • Facebook
  • Twitter
  • YouTube
  • Instagram
  • Line
  • รู้จักกรีนพีซ
  • ติดต่อเรา
  • ตำแหน่งงานว่าง
  • ศูนย์ข่าว
  • งานระดมทุน
  • กรีนพีซ คำถามที่พบบ่อย
  • Sitemap
  • นโยบายความเป็นส่วนตัวและคุกกี้
  • นโยบายการใช้งาน
  • ลิขสิทธิ์
  • คลังข้อมูล
Greenpeace Thailand 2025 Unless otherwise stated, the copy of the website is licensed under a CC-BY International License

Manage your cookies preferences

Please select which cookies you are willing to store.

คุกกี้การแสดงผล Always enabled

คุกกี้เหล่านี้จะช่วยให้เราเก็บข้อมูลเชิงสถิติและข้อมูลที่ไม่ระบุตัวตน เช่น ผู้ใช้เว็บไซต์ใช้เวลานานเท่าไรในหน้าเว็บไซต์แต่ละหน้า หรือผู้ใช้คลิกลิงก์อะไรบ้าง ข้อมูลจะถูกเก็บไปเพื่อพัฒนาเว็บไซต์ greenpeace.org ให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้นเพื่อการใช้เว็บไซต์ของคุณ การกดยอมรับคุกกี้เหล่านี้ยังจะช่วยให้คุณไม่ถูกตรวจจับด้วยระบบแบนคุกกี้

จากที่มีการกล่าวถึงในย่อหน้า คุกกี้การแสดงผล ด้านบน เราอาจจะติดตั้งคุกกี้ในบราวเซอร์ของคุณซึ่งเป็นคุกกี้บุคคลที่สาม (เช่น คุกกี้จาก Facbook หรือ Google) สำหรับติดตามข้อมูลเพื่อการวางแผนการตลาดที่ดีขึ้นและปล่อยโฆษณาออนไลน์ที่คาดว่าคุณจะสนใจหลังจากที่คุณออกจากเว็บไซต์ไปแล้ว (คุกกี้กำหนดกลุ่มเป้าหมายใหม่)

รายชื่อเต็มของคุกกี้ที่อาจถูกติดตั้งบนบราวเซอร์ของคุณสามารถดูได้จากด้านบน (ดู ประเภทของคุกกี้ ) และรายละเอียดบางส่วนถึงการที่เราจัดการกับข้อมูลอย่างไรผ่านระบบบุคคลที่สามด้านล่าง

หากมีการยกเลิกการใช้งาน (un-checking) คุกกี้ทั้ง 2 ประเภทด้านบน เราจะเซ็ตคุกกี้เฉพาะในบราวเซอร์ของคุณเพื่อเก็บข้อมูลการใช้งาน ซึ่งจะทำให้คุณไม่ได้รับการติดตามบนเว็บไซต์จนกว่าคุณจะเปลี่ยนใจหรือเคลียร์คุกกี้ในบราวเซอร์

เว็บบราวเซอร์เกือบทั้งหมดอนุญาตให้ควบคุมคุกกี้บางตัวผ่านการตั้งค่าบราวเซอร์ (เช่น การแจ้งเตือนการติดตั้งคุกกี้ใหม่, การยกเลิกการใช้คุกกี้และการตรวจจับคุกกี้) คลิกที่ประเภทบราวเซอร์ของคุณด้านล่าง เพื่อเรียนรู้ข้อมูลผู้ใช้บราวเซอร์ และเรียนรู้การยกเลิกการติดตั้งคุกกี้
Chrome
Firefox
Internet Explorer
Microsoft Edge
Opera
Safari

แม้ว่าสามารถบล็อกคุกกี้ทั้งหมดได้ อย่างไรก็ตามจะมีผลกระทบทางในด้านการใช้งานเว็บไซต์หลายเว็บไซต์

เว็บไซต์ของเราใช้คุกกี้ เพื่อจัดการข้อมูลส่วนบุคคล และพัฒนาประสบการณ์การใช้งานให้กับผู้ใช้ อ่านเพิ่มเติมใน นโยบายความเป็นส่วนตัวและคุกกี้